ประมวลการสอนรายวิชา
ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์
รหัสวิชา TH341 ชื่อวิชา ANALYTICAL AND CRITICAL STUDIES OF THAI LITERATURE จำนวนหน่วยกิต 3
ภาคการศึกษาที่ 1/2552
รหัสวิชา | TH341 |
ชื่อวิชาภาษาไทย | การวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณกรรมไทย |
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ | ANALYTICAL AND CRITICAL STUDIES OF THAI LITERATURE |
ตอนที่ | B01 |
ระดับ | ปริญญาตรี |
คำอธิบายรายวิชา | ||||||||||||
ศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมไทยเชิงวิจักษณ์ วิเคราะห์ วินิจสาร และวิจารณ์ รวมทั้งศึกษาวรรณคดีด้วยทฤษฎีและศาสตร์ต่าง ๆ | ||||||||||||
|
||||||||||||
|
||||||||||||
วัตถุประสงค์ | ||||||||||||
1. เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการศึกษาวรรณคดี แนวทางในการศึกษาวรรณคดีด้วยทฤษฎีและศาสตร์ต่าง ๆ 2. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ วรรณคดีและวรรณกรรมด้วยทฤษฎีและศาสตร์ต่าง ๆ ได้ |
||||||||||||
การประเมินผลการเรียน | ||||||||||||
1. จิตพิสัย (Attitude and Approaches) 10 % - การประเมินการเรียนรู้ (Self reflection) 2 % - ความตรงต่อเวลา (Punctuality) 2 % - การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน (Participation) 2 % - ความประพฤติเหมาะสม (Code of conduct) 2 % - การแต่งกายถูกระเบียบ (Dress code) 2 % 2. สอบกลางภาค (Mid-term exam) 0 % 3. สอบปลายภาค (Final exam) 40 % 4. อื่น ๆ โปรดระบุ (Others : please specify) 50 % รวม 100 % การปรับปรุงจากผลการประเมินการสอนครั้งที่ผ่านมา (ระบุว่าได้ดำเนินการในเรื่องใดบ้าง เช่น ปรับปรุงเนื้อหา สื่อการสอน วิธีสอน กิจกรรม เป็นต้น |
||||||||||||
เกณฑ์การพิจารณาตัดเกรด | ||||||||||||
อิงกลุ่ม | ||||||||||||
เอกสารและสื่อที่ใช้ประกอบการสอน | ||||||||||||
กระแสร์ มาลยาภรณ์. วรรณคดีวิจักษ์และวิจารณ์. กรุงเทพฯ : ประมวลการพิมพ์, 2509 ชลธิรา สัตยาวัฒนา. การนำวรรณคดีวิจารณ์แผนใหม่แบบตะวันตกมาใช้กับวรรณคดีไทย. ปริญญานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2513. ดวงมน จิตร์จำนงค์ ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต รื่นฤทัย สัจจพันธุ์. ทอไหมในสายน้ำ : 200 ปี วรรณคดีวิจารณ์ไทย. กรุงเทพฯ : สามัคคีสาส์น, 2532. ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. ชีวิตและงานของสุนทรภู่. พระนคร : คลังวิทยา, 2513. ตรีศิลป์ บุญขจร. นวนิยายกับสังคมไทย (2475-2500). กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์, 2523. ตุ้ย ชุมสาย, ม.ล. วรรณกรรมพินิจเชิงจิตวิทยา. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2516. ทองสุก เกตุโรจน์. อธิบายศัพท์วรรณคดี. (แปลจาก A Glossary of Literary Terms ของ M.H. Abrams). กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ, 2529. ธเนศ เวศร์ภาดา. ดินสอขอเขียน. กรุงเทพฯ : ปาปิรัส, 2537. ธัญญา สังขพันธานนท์. ลักษณะและวิวัฒนาการของการวิจารณ์วรรณกรรมในประเทศไทยให้รอบศตวรรษ (พ.ศ.2419-2519) ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก, 2529. นราธิป พงศ์ประพันธ์, พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่น.วิทยาวรรณกรรม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เกษมสัมพันธ์การพิมพ์, 2506. นิธิ เอียวศรีวงศ์. ปากไก่และใบเรือ : รวมความเรียงว่าด้วยวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ต้นรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : อัมรินทร์การพิมพ์, 2527. บุญเหลือ เทพยสุวรรณ, ม.ล. วิเคราะห์รสวรรณคดีไทย. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช จำกัด, 2517. ประจักษ์ ประภาพิทยากร. วรรณคดีวิเคราะห์ : พระอภัยมณี. กรุงเทพฯ : บริษัทเวลโก้, 2522. ประสิทธิ์ กาพย์กลอน. แนวทางศึกษาวรรณคดี ภาษากวี การวิจักษณ์และวิจารณ์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2523. วนิดา ลิขิตกันทิมา. การศึกษาบุคลิกภาพของสุนทรภู่ตามหลักจิตวิทยา. ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยัลยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2517. วรนันท์ อักษรพงศ์. การศึกษาสังคมและวัฒนธรรมในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นจากเรื่อง ขุนช้างขุนแผน. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2516. วาวแพร (นามแฝง). วาวแพรโต้ไพลินรุ้งรัตน์. กรุงเทพฯ : วิคตอรี่เพาเวอร์พอยท์., 2531. วิทย์ ศิวะศริยานนท์. วรรณคดีและวรรณคดีวิจารณ์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สมาคมภาษา และหนังสือ, 2514. วิภา กงกะนันทน์. วรรณคดีศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2533. สมบัติ จันทรวงศ์. บทวิเคราะห์การศึกษาทางการเมืองในงานเขียนประเภทนิทานของสุนทรภู่. รักเมืองไทย. เล่ม 1.โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, 2519.ล สายทิพย์ นุกูลกิจ. วรรณคดีวิจารณ์. กรุงเทพฯ : ชัยสิริการพิมพ์, 2523. สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร. พระอภัยมณี : การศึกษาในเชิงวรรณคดีวิจารณ์. กรุงเทพฯ : กรุงเทพ การพิมพ์, 2518. เสฐียรโกเศศ (นามแฝง). การศึกษาวรรณคดีแง่วรรณศิลป์. พระนคร : ราชบัณฑิตยสถาน, 2507. |