ประมวลการสอนรายวิชา

ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์

รหัสวิชา PO231 ชื่อวิชา INTERNATONAL ORGANIZATION  จำนวนหน่วยกิต 3 

ภาคการศึกษาที่ 1/2553


           ข้อมูลเกี่ยวกับวิชา

รหัสวิชา PO231
ชื่อวิชาภาษาไทย องค์การระหว่างประเทศ
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ INTERNATONAL ORGANIZATION
ตอนที่ B01
ระดับ ปริญญาตรี

คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาแนวความคิด ความเป็นมาขององค์การะหว่างประเทศ รวมทั้งพฤติกรรมและบทบาทที่เกี่ยวข้องกับปัญหาระหว่างประเทศ

ผู้สอน
  ชื่อ-สกุล อีเมล์ เวลานิสิตเข้าพบ
อาจารย์ประพีร์ อภิชาติสกลprapee@swu.ac.th เวลาให้นิสิตพบ วันพุธ 13.30 -14.30 น.
 
ห้องเรียน  -  เวลาเรียน:
01270101 จ. 13:30-16:20

วัตถุประสงค์
 เพื่อให้นิสิตมีความรู้และเข้าใจในกรอบความคิด ทฤษฎี และวิธีการศึกษาองค์การระหว่างประเทศ
 เพื่อให้นิสิตมีความรู้และเข้าใจในประวัติและพัฒนาการขององค์การระหว่างประเทศ
 เพื่อให้นิสิตมีความรู้และเข้าใจในรูปแบบขององค์การ วัตถุประสงค์ หน้าที่และบทบาทขององค์การระหว่างประเทศที่สำคัญทั้งในอดีตและปัจจุบัน
 
การประเมินผลการเรียน
การวัดผลเป็นไปตามการตกลงระหว่างอาจารย์และนิสิตแต่ละชั้นเรียน

เกณฑ์การพิจารณาตัดเกรด
80 คะแนนขึ้นไป A
75-79.99 คะแนน B+
70-74.99 คะแนน B
65-69.99 คะแนน C+
60-64.99 คะแนน C
55-59.99 คะแนน D+
50-54.99 คะแนน D
ต่ำกว่า 50 คะแนน E

เอกสารและสื่อที่ใช้ประกอบการสอน
ภาษาไทย
กฤษณา ไวสำรวจ และธนาสฤษฎิ์ สตะเวทิน. องค์การระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2532.
กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์.องค์การการค้าโลกและกลุ่มเศรษฐกิจระหว่างประเทศ.กรุงเทพฯ: กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์, 2540.
กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์.การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่างๆ.กรุงเทพฯ: กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์, 2545.
ขจิต จิตตเสวี.องค์การระหว่างประเทศ(องค์การระหว่างประเทศในกระแสโลกาภิวัตน์และภูมิภาคาภิวัตน์).กรุงเทพฯ:วิญญูชน, 2552.
จุลชีพ ชินวรรณโณ.สู่สหัสวรรษที่ 3 : กระแสเศรษฐกิจการเมืองโลกที่ไร้พรมแดน. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ชวนพิมพ์,2544.
เชิดชาย เหล่าหล้า. สหประชาชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แพร่พิทยา, 2526.
ประภัสสร์ เทพชาตรี,บรรณาธิการ.ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.กรุงเทพฯ : โครงการอาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2552.
ประภัสสร์ เทพชาตรี,บรรณาธิการ.ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน .กรุงเทพฯ : โครงการอาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2552.
ประภัสสร์ เทพชาตรี,บรรณาธิการ. สู่ประชาคมอาเซียน 2015. กรุงเทพฯ : โครงการอาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2552.
ปิยะพงษ์ บุษบงก์, บรรณาธิการ. อาเซียน : ประเด็นปัญหาและความท้าทาย.มหาสารคาม : วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2552.
มานพ เมฆประยูรทอง. องค์การสหประชาชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2533.
ทัชมัย ฤกษะสุต. กฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ องค์การการค้าโลก(WTO) : บททั่วไป.กรุงเทพฯ: วิญญูชน ,2549.
ธนาสฤษฎิ์ สตะเวทิน และ กฤษณา กู้ตลาด. องค์การระหว่างประเทศ.กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2517.
นรนิติ เศรษฐบุตร.พฤติกรรมทางการเมืองระหว่างประเทศของสหภาพโซเวียต.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,2520.
วิมลวรรณ ภัทโรดม. สหภาพยุโรป.กรุงเทพฯ : ศูนย์ยุโรปศึกษา จุฬาฯ,2546.
วิมลวรรณ ภัทโรดม. สหภาพยุโรปโฉมใหม่ และ 25 ประเทศสมาชิก. กรุงเทพฯ : ศูนย์ยุโรปศึกษา จุฬาฯ,2549.
วินิตา ศุกรเสพ.อาเซียนในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ : กำเนิดและพัฒนาการ.กรุงเทพฯ : สถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ จุฬาฯ, 2527.
สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์. สงครามเขตการค้า.กรุงเทพฯ: เดอะเนชั่น, 2536.
สมพงศ์ ชูมาก. การปฏิบัติการรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.
สมพงศ์ ชูมาก. องค์การระหว่างประเทศ: สันนิบาตชาติ สหประชาชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิยาลัย, 2533.
สมนึก แตงเจริญ.การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ.กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง,2518.
สมนึก แตงเจริญ.ทฤษฎีว่าด้วยการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ.กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,2537.
สีดา สอนศรี.ความร่วมมือของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในการก่อตั้งองค์การส่วนภูมิภาค,1945-1985. กรุงเทพฯ : ศูนย์วิจัย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2529
สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย. เอกสารการสอนชุดวิชากฎหมายระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศหน่วยที่ 9-15. พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2535.
อรณี นวลสุวรรณ์. พัฒนาการของประชาคมยุโรปตั้งแต่ ค.ศ.1980 สู่สหภาพยุโรป. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.
อุกฤษฎ์ ปัทมานันท์, บรรณาธิการ.อาเซียนใหม่.กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.
Bennett,A.LeRoy and Oliver,James K. International organizations : principles and issues. 7th ed. Englewood Cliffs,N.J. : Prentice-Hall, 1988.
Camdessus, Michel.The role of the IMF: past, present, and future. Washington, D.C. : International Monetary Fund, 1998.
Karns,Margaret P. and Mingst, Karen A. International Organizations: The Politics and
Processes of Global Governance. 2nd ed. Boulder, CO: Lynne Rienner Publishers, 2009.
Moore,John A.and Pubantz, Jerry. The New United Nations: International Organization
in the Twenty-First Century. Upper Saddle River, New Jersey : Pearson Prentice Hall, 2006.

Course Online
-

ตารางการเรียนการสอน
ครั้งที่
วันที่
หัวข้อ
ห้องเรียน
วิธีการสอน
ผู้สอน
หมายเหตุ
1 7 มิ.ย. 2553 ประวัติ แนวความคิดทั่วไปเกี่ยวกับองค์การระหว่างประเทศ และทฤษฎีองค์ระหว่างประเทศ 01270101บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
2 14 มิ.ย. 2553 ประวัติ แนวความคิดทั่วไปเกี่ยวกับองค์การระหว่างประเทศ และทฤษฎีองค์ระหว่างประเทศ 01270101บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
3 21 มิ.ย. 2553 พัฒนาการขององค์การระหว่างประเทศ ประเภทขององค์การระหว่างประเทศ 01270101บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
4 28 มิ.ย. 2553 พัฒนาการขององค์การระหว่างประเทศ ประเภทขององค์การระหว่างประเทศ 01270101บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
5 5 ก.ค. 2553 สันนิบาตชาติ (League of Nations) โดยศึกษาถึง ภูมิหลัง อุดมการณ์ และแนวความคิดในการจัดตั้งสันนิบาตชาติ กิจกรรมและบทบาทของสันนิบาตชาติ 01270101บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
6 12 ก.ค. 2553 สันนิบาตชาติ (League of Nations) โดยศึกษาถึง ภูมิหลัง อุดมการณ์ และแนวความคิดในการจัดตั้งสันนิบาตชาติ กิจกรรมและบทบาทของสันนิบาตชาติ 01270101บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
7 19 ก.ค. 2553 สันนิบาตชาติ (League of Nations) โดยศึกษาถึง ภูมิหลัง อุดมการณ์ และแนวความคิดในการจัดตั้งสันนิบาตชาติ กิจกรรมและบทบาทของสันนิบาตชาติ 01270101บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
8 26 ก.ค. 2553 หยุดวันอาสาฬหบูชา 01270101บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
9 2 ส.ค. 2553 สอบกลางภาค 01270101สอบกลางภาคอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
10 9 ส.ค. 2553 สหประชาชาติ ( United Nations) ภูมิหลัง องค์ประกอบ การจัดองค์การ และเกณฑ์การปฏิบัติงาน และขอบเขตอำนาจหน้าที่ขององค์กรต่างๆของสหประชาชาติ รวมถึงทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ โดยจะเน้นถึงบทบาทของสหประชาชาติในด้านการรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (Peace-Keeping operations) การบีบบังคับเพื่อสันติภาพ (Peace-Enforcement) นอกจากนั้นจะกล่าวถึงสหประชาชาติกับการส่งเสริมความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและสังคมด้วย 01270101บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
11 16 ส.ค. 2553 สหประชาชาติ ( United Nations) ภูมิหลัง องค์ประกอบ การจัดองค์การ และเกณฑ์การปฏิบัติงาน และขอบเขตอำนาจหน้าที่ขององค์กรต่างๆของสหประชาชาติ รวมถึงทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ โดยจะเน้นถึงบทบาทของสหประชาชาติในด้านการรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (Peace-Keeping operations) การบีบบังคับเพื่อสันติภาพ (Peace-Enforcement) นอกจากนั้นจะกล่าวถึงสหประชาชาติกับการส่งเสริมความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและสังคมด้วย 01270101บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
12 23 ส.ค. 2553 บทบาทขององค์การระหว่างประเทศด้านการเมืองและสันติภาพอื่นๆเช่น องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ (NATO) องค์การสนธิสัญญากรุงวอซอว์ (Warsaw Pact) องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (สปอ. หรือ ซีโต้ Southeast Asia Treaty Organization - SEATO) องค์การความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป(OSCE) 01270101บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
13 30 ส.ค. 2553 บทบาทขององค์การระหว่างประเทศด้านการเมืองและสันติภาพอื่นๆเช่น องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ (NATO) องค์การสนธิสัญญากรุงวอซอว์ (Warsaw Pact) องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (สปอ. หรือ ซีโต้ Southeast Asia Treaty Organization - SEATO) องค์การความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป(OSCE) 01270101บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
14 6 ก.ย. 2553 บทบาทขององค์การระหว่างประเทศด้านเศรษฐกิจ อันได้แก่ องค์การการค้าโลก (WTO) กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ธนาคารโลก (World Bank) รวมถึงการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจที่สำคัญ เช่น ความตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ (NAFTA) เขตการค้าเสรียุโรป (EFTA) เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชีย-แปซิฟิก (APEC) ตลาดร่วมอเมริกาใต้ (Mercosur) สหภาพทางเศรษฐกิจเบเนลักซ์ (Benelux Economic Union)เป็นต้น 01270101บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
15 13 ก.ย. 2553 บทบาทขององค์การระหว่างประเทศด้านเศรษฐกิจ อันได้แก่ องค์การการค้าโลก (WTO) กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ธนาคารโลก (World Bank) รวมถึงการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจที่สำคัญ เช่น ความตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ (NAFTA) เขตการค้าเสรียุโรป (EFTA) เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชีย-แปซิฟิก (APEC) ตลาดร่วมอเมริกาใต้ (Mercosur) สหภาพทางเศรษฐกิจเบเนลักซ์ (Benelux Economic Union)เป็นต้น 01270101บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
16 20 ก.ย. 2553 บทบาทขององค์การระดับภูมิภาค อันได้แก่ สหภาพยุโรป (EU) สมาคมประชาชาติเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) สมาคมเพื่อความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียใต้ (SAARC) สมาคมความร่วมมือแห่งภูมิภาคมหาสมุทรอินเดีย (IOR-ARC) องค์การรัฐอเมริกัน (OAS) 01270101บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
17 27 ก.ย. 2553 สอบปลายภาค 01270101สอบปลายภาคอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
  
 
หมายเหตุการเปลี่ยนแปลง
-