ประมวลการสอนรายวิชา
ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์
รหัสวิชา TLL211 ชื่อวิชา THAI GRAMMAR จำนวนหน่วยกิต 3
ภาคการศึกษาที่ 1/2553
รหัสวิชา | TLL211 |
ชื่อวิชาภาษาไทย | หลักภาษาไทย |
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ | THAI GRAMMAR |
ตอนที่ | B01 |
ระดับ | ปริญญาตรี |
คำอธิบายรายวิชา | ||||||||||||
ศึกษาหลักภาษาไทย อักขรวิธี วจีวิภาค วากยสัมพันธ์ และฉันทลักษณ์ ความเปลี่ยนแปลงของหลักภาษาและแบบเรียนภาษาไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน การประยุกต์หลักภาษาในการใช้ภาษาในปัจจุบัน | ||||||||||||
|
||||||||||||
|
||||||||||||
วัตถุประสงค์ | ||||||||||||
เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาหลักภาษาไทย สามารถอธิบายหลักภาษาไทยและการเปลี่ยนแปลงของหลักภาษาในตำราและแบบเรียนภาษาไทย ตลอดจนสามารถนำหลักภาษามาใช้เป็นแนวทางในการอธิบายการใช้ภาษาในปัจจุบันได้ | ||||||||||||
การประเมินผลการเรียน | ||||||||||||
1.จิตพิสัย 10% -ความตรงต่อเวลา 2.5% -การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน 2.5% -ความประพฤติเหมาะสม 2.5% -การแต่งกายถูกระเบียบ 2.5% 2.สอบกลางภาค 20% 3.สอบปลายภาค 30% 4.อื่น ๆ โปรดระบุ -แบบฝึก แบบทดสอบ 40 % รวม 100 % |
||||||||||||
เกณฑ์การพิจารณาตัดเกรด | ||||||||||||
มากกว่าหรือเท่ากับ 80 คะแนน ได้เกรด A 75.0 79.9 คะแนน ได้เกรด B+ 70.0 74.9 คะแนน ได้เกรด B 65.5 69.9 คะแนน ได้เกรด C+ 60.0 64.9 คะแนน ได้เกรด C 55.0 59.9 คะแนน ได้เกรด D+ 50.0 54.9 คะแนน ได้เกรด D น้อยกว่า 50 คะแนน ได้เกรด E |
||||||||||||
เอกสารและสื่อที่ใช้ประกอบการสอน | ||||||||||||
กำชัย ทองหล่อ. 2540. หลักภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: บำรุงสาส์น. ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ, กรมพระยา. 2542. แบบเรียนเร็ว 1, 2, 3. กรุงเทพฯ: สถาบันภาษาไทย กรมวิชาการ. นววรรณ พันธุเมธา. 2549. ไวยากรณ์ไทย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นววรรณ พันธุเมธา. ไวยากรณ์ไทยง่ายหรือยาก วารสารภาษาและวรรณคดีไทย 13 (ธ.ค. 2539): 32-40. นิยะดา เหล่าสุนทร. 2552. วัฒนาการของแบบเรียนภาษาไทย. กรุงเทพฯ: ลายคำ. น้ำเพชร จีนเลิศ. การจำแนกหมวดคำในตำราหลักไวยากรณ์ไทย: หลากวิธีคิด หลายทฤษฎี วรรณวิทัศน์ 6 (พ.ย. 2549) : 189-216. เบ็ญจวรรณ สุนทรากูล. 2550. วิวัฒนาการแบบเรียนไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พระเจ้าบรมโกศ, สมเด็จ. 2514. พิมพ์ครั้งที่ 3. จินดามณี. ธนบุรี: สำนักพิมพ์บรรณาคาร. วิจินตน์ ภานุพงศ์. 2538. โครงสร้างของภาษาไทย: ระบบไวยากรณ์. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง. วีรฉัตร วรรณดี. การวิเคราะห์หนังสือไวยากรณ์ไทยสมัยก่อนการเผยแพร่การศึกษาวิชาภาษาศาสตร์ในประเทศไทย จุลสารสถาบันวิจัยและพัฒนา 15 (4) (ก.ค.-ส.ค. 2549): 8-12. ศรีสุนทรโวหาร, พระยา (น้อย อาจารยางกูร). มูลบทบรรพกิจ วาหนิติ์นิกร อักษรประโยค สังโยคพิธาน ไวพจน์พิจารณ์ พิศาลการันต์. 2515. พิมพ์ครั้งที่ 8. ธนบุรี: สำนักพิมพ์บรรณาคาร. อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ และคณะ. 2544. ทฤษฎีไวยากรณ์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อัมพร แก้วสุวรรณ. 2527. วิเคราะห์แบบเรียนภาษาไทย. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร. อุปกิตศิลปสาร, พระยา. 2539. หลักภาษาไทย: อักขรวิธี วจีวิภาค วากยสัมพันธ์ ฉันทลักษณ์. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. |
||||||||||||
Course Online | ||||||||||||
- |