ประมวลการสอนรายวิชา

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์

รหัสวิชา ME226 ชื่อวิชา MECHANICS OF SOLIDS I  จำนวนหน่วยกิต 3 

ภาคการศึกษาที่ 1/2554


           ข้อมูลเกี่ยวกับวิชา

รหัสวิชา ME226
ชื่อวิชาภาษาไทย กลศาสตร์ของแข็ง 1
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ MECHANICS OF SOLIDS I
ตอนที่ B01
ระดับ ปริญญาตรี

คำอธิบายรายวิชา
ความเค้นและความเครียด ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด กฎของฮุคยังส์โมดูลัส ทฤษฎีพลังงานความเครียด ความเค้นที่เกิดขึ้นเนื่องจากอุณหภูมิเปลี่ยนแปลง ปัญหาที่ไม่สามารถแก้ไขโดยหลักสถิตย์ศาสตร์ ภาชนะผนังบาง ความเค้นเข้มข้น การบิดของเพลากลม สปริงขดชิด การบิดของท่อผิวบาง การบิดของเพลาหน้าตัดสี่เหลี่ยม และรูปทรงต่าง ๆ ความเค้นในคานและการโก่งตัวของคาน คานที่ไม่สามารถแก้ไขโดยหลักสถิตยศาสตร์ คานประกอบ คานที่มีหน้าตัดแบบต่าง ๆ คานคอนกรีตเสริมเหล็ก ความเค้น เฉือนในคานที่มีหน้าตัดผิวบาง คานโค้ง ภาระ การตัดผสมการบิด ภาระแบบแรงในแนวแกนผสมกับการตัด ทฤษฎีเสาสูง

ผู้สอน
  ชื่อ-สกุล อีเมล์ เวลานิสิตเข้าพบ
 
ห้องเรียน  -  เวลาเรียน:
02040502 พฤ. 12:30-15:20

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้เข้าใจถึงเหตุผลที่ต้องเรียนวิชากลศาสตร์ของแข็ง
2. เพื่อให้เข้าใจถึงนิยามของวิชากลศาสตร์ของแข็ง
3. เพื่อให้เข้าใจถึงนิยามและหลักการของแต่ละเรื่อง
4. เพื่อให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับงานจริงได้
 
การประเมินผลการเรียน
1. การเข้าห้องเรียน การถามตอบ การแต่งกาย การบ้านและพฤติกรรมที่แสดงออก 20 %
2. สอบย่อย 10 %
3. สอบกลางภาค 30 %
4. สอบปลายภาค 40 %
รวม 100 %

เกณฑ์การพิจารณาตัดเกรด
81 – 100 เกรด A
76 – 80 เกรด B+ 71 – 75 เกรด B
61 – 70 เกรด C+ 51 – 60 เกรด C
46 – 50 เกรด D+ 41 – 45 เกรด D
0 – 40 เกรด E ไม่สมบูรณ์ เกรด I

เอกสารและสื่อที่ใช้ประกอบการสอน
1. ตำราหลัก Mechanics of Materials (SI unit) ของ Beer and Johnson
2. ตำรารอง Mechanics of Materials ของ Hibbeler
3. ตำรารอง Mechanics of Materials ของ Gear and Timoshenko
4. ตำรารอง Mechanics of Materials ของ Craig
5. ตำรารอง Mechanics of Materials ของ Jame M. Gere
6. กลศาสตร์ของแข็ง I ของผู้ช่วยศาสตราจารย์เกียรติชัย รักษาชาติ

Course Online
-

ตารางการเรียนการสอน
ครั้งที่
วันที่
หัวข้อ
ห้องเรียน
วิธีการสอน
ผู้สอน
หมายเหตุ
1 9 มิ.ย. 2554 แนะนำรายวิชาและทบทวนวิชาสถิตยศาสตร์ me206บรรยาย, กิจกรรมกลุ่ม, เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก, เรียนรู้ด้วยตนเองผศ.เกียรติชัย รักษาชาติ
2 16 มิ.ย. 2554 บทที่ 1 บทนำและแนวความคิดของความเค้น me206บรรยาย, เรียนรู้ด้วยตนเองผศ.เกียรติชัย รักษาชาติ
3 23 มิ.ย. 2554 บทที่ 2 ความเค้นและความเครียดภายใต้ ภาระในแนวแกน me206บรรยาย, เรียนรู้ด้วยตนเองผศ.เกียรติชัย รักษาชาติ
4 30 มิ.ย. 2554 บทที่ 2 ความเค้นและความเครียดภายใต้ ภาระในแนวแกน me206บรรยาย, เรียนรู้ด้วยตนเองผศ.เกียรติชัย รักษาชาติ
5 7 ก.ค. 2554 บทที่ 3 การบิด me206บรรยาย, เรียนรู้ด้วยตนเองผศ.เกียรติชัย รักษาชาติ
6 14 ก.ค. 2554 บทที่ 3 การบิด me206บรรยาย, เรียนรู้ด้วยตนเองผศ.เกียรติชัย รักษาชาติ
7 21 ก.ค. 2554 บทที่ 4 การดัดอย่างเดียว me206บรรยาย, เรียนรู้ด้วยตนเองผศ.เกียรติชัย รักษาชาติ
8 28 ก.ค. 2554 บทที่ 4 การดัดอย่างเดียว me206บรรยายผศ.เกียรติชัย รักษาชาติ
9 4 ส.ค. 2554 สอบกลางภาค วศ 42สอบกลางภาคผศ.เกียรติชัย รักษาชาติ
10 11 ส.ค. 2554 บทที่ 5 แรงกระทำในแนวขวาง me206บรรยาย, เรียนรู้ด้วยตนเองผศ.เกียรติชัย รักษาชาติ
11 18 ส.ค. 2554 บทที่ 5 แรงกระทำในแนวขวาง me206บรรยายผศ.เกียรติชัย รักษาชาติ
12 25 ส.ค. 2554 บทที่ 6 การเปลี่ยนรูปความเค้น me206บรรยายผศ.เกียรติชัย รักษาชาติ
13 1 ก.ย. 2554 บทที่ 7 แผนผังแรงเฉือนและโมเมนต์ดัด me206บรรยายผศ.เกียรติชัย รักษาชาติ
14 8 ก.ย. 2554 บทที่ 8 การเบี่ยงเบนของคานโดยการอินทิเกรท
บทที่ 9 การเบี่ยงเบนของคานโดยวิธีพื้นที่โมเมนต์
me206บรรยายผศ.เกียรติชัย รักษาชาติ
15 15 ก.ย. 2554 บทที่ 10 วิธีพลังงาน me206บรรยาย, เรียนรู้ด้วยตนเองผศ.เกียรติชัย รักษาชาติ
16 22 ก.ย. 2554 บทที่ 11 เสา me206บรรยาย, เรียนรู้ด้วยตนเองผศ.เกียรติชัย รักษาชาติ
17 29 ก.ย. 2554 สอบปลายภาค วศ42สอบปลายภาคผศ.เกียรติชัย รักษาชาติ
  
 
หมายเหตุการเปลี่ยนแปลง
-