ประมวลการสอนรายวิชา

คณะศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์

รหัสวิชา RHP881 ชื่อวิชา SEMINAR IN DOCTORAL DISSERTATION  จำนวนหน่วยกิต 0 

ภาคการศึกษาที่ 1/2554


           ข้อมูลเกี่ยวกับวิชา

รหัสวิชา RHP881
ชื่อวิชาภาษาไทย สัมมนาปริญญานิพนธ์ระดับปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ SEMINAR IN DOCTORAL DISSERTATION
ตอนที่ D01
ระดับ ปริญญาเอก

คำอธิบายรายวิชา
การศึกษาค้นคว้าและเข้าร่วมสัมมนาอย่างต่อเนื่องสำหรับนิสิตระดับดุษฎีบัณฑิตในประเด็นที่เป็นปัญหาและแนวโน้มใหม่ ๆ ทางการศึกษา เน้นการนำเสนอรายงานความก้าวหน้าในการทำปริญญานิพนธ์ต่อสาธารณะ โดยกำหนดให้ลงทะเบียนสัมมนาทุกภาคการศึกษา เพื่อช่วยส่งเสริม สนับสนุน และกำกับให้นิสิตทำปริญญานิพนธ์ที่มีคุณภาพเผยแพร่ในระดับนานาชาติ และสำเร็จได้ในระยะเวลาขั้นต่ำตามหลักสูตร

ผู้สอน
  ชื่อ-สกุล อีเมล์ เวลานิสิตเข้าพบ
รองศาสตราจารย์องอาจ นัยพัฒน์ong-art@swu.ac.th
อาจารย์สุวพร เซ็มเฮงsuwaporn@swu.ac.th
อาจารย์สุวิมล กฤชคฤหาสน์suwimonkr@swu.ac.th วันเสาร์ 11.30-12.30 น.
อาจารย์รณิดา เชยชุ่มranida@swu.ac.th
อาจารย์อรอุมา เจริญสุขornuma@swu.ac.th
อาจารย์ARR
 
ห้องเรียน  -  เวลาเรียน:
01999999 ARR -

วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ (Objective): เพื่อให้นิสิต
1.ได้ประเด็นทางการศึกษาที่สนใจและสามารถนำไปพัฒนาเป็นหัวข้อปริญญานิพนธ์ได้
2.มีทักษะการคิดเชิงระบบ สามารถคัดกรองเอกสาร บทความทางวิชาการ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศโดยใช้เทคโนโลยีในการสืบค้น รวบรวม และนำเสนองานที่ได้รับมอบหมายด้วยการสื่อสารทั้งด้านการพูดและการเขียนได้อย่างเหมาะสม
3.เกิดเจตคติที่ดีต่อการแลกเปลี่ยนความรู้ในการสัมมนาทางวิชาการ ยอมรับความคิดที่แตกต่างของผู้อื่นและมีความรับผิดชอบต่อตนเองในการปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย
4.ตระหนักถึงจรรยาบรรณนักวิจัย
 
การประเมินผลการเรียน



กิจกรรมการประเมิน
-คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา
- ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
-คุณธรรม จริยธรรมทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และ ความรับผิดชอบ
วิธีการประเมิน
1. การนำเสนอประเด็นปัญหาทางการศึกษา (งานกลุ่ม)
2. การนำเสนอและจัดทำรายงานสรุปผลการศึกษาประเด็นที่สนใจ จากเอกสารและงานวิจัยภาษาไทย อย่างน้อย 3 เรื่องและภาษาต่างประเทศอย่างน้อย 1 เรื่อง โดยเป็นเอกสารย้อนหลังไม่เกิน 5 ปี (รายบุคคล)
3. การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในการสัมมนา (รายบุคคล)



รายงานสรุป 30
2 คุณธรรม จริยธรรมทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และ
ความรับผิดชอบ การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในการสัมมนา (รายบุคคล) สัปดาห์ที่มีการเรียนการสอน 20

เกณฑ์การพิจารณาตัดเกรด
เกณฑ์การตัดสินผลการเรียน (Evaluation Criteria):
 ไม่ผ่าน (0 – 59)  ผ่าน (60 – 100)

เอกสารและสื่อที่ใช้ประกอบการสอน
เอกสาร/หนังสืออ่านประกอบ (Reference):
1. ปริญญานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ
2. ตำรา :
ชวาล แพรัตกุล. (2552). เทคนิคการวัดผล. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2550). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนังสือ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
. (2549). เทคนิคการเขียนเค้าโครงการวิจัย : แนวทางสู่ความสำเร็จ. นนทบุรี :
ไทเนรมิตกิจ อินเตอร์ โปรเกรสซิป จำกัด.
บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ์. (2546). การวัดประเมินการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวัดผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2539). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: ชมรมเด็ก.
วรรณี แกมเกตุ. (2551). วิธีวิทยาการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: คณะครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2550). ทฤษฎีการทดสอบแนวใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
. (2552). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศรีนครินทรวิโรฒ, มหาวิทยาลัย. (2547). คู่มือการเรียบเรียงปริญญานิพนธ์และสารนิพนธ์. กรุงเทพมหานคร: บัณฑิตวิทยาลัย.
สุวิมล ว่องวาณิช. (2553). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
องอาจ นัยพัฒน์. (2551). วิธีวิทยาการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพทางพฤติกรรมศาสตร์และ
สังคมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
. (2552). การออกแบบการวิจัย : วิธีการเชิงคุณภาพ เชิงปริมาณ และผสมผสานวิธีการ
กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Allen, M. J.; & Yen, W. M. (1979). Introduction to measurement theory. California: Wadsworth.
Babbie, E. R. (2007). The Practice of Social Research. California: Thomson Wadsworth.
Babbie, E. R. (1973). Survey Research Methods. California: Wadsworth.
Baker, F. B. (1992). Item Response Theory: Parameter Estimation Techniques. New York: Marcel Dekker.
Hambleton, R. K.; Swaminathan, H.; & Rogers, H. J. (1991). Fundamentals of item response theory. California: Sage Publications.
Howell, D. C. (2008). Fundamental Statistics for the Behavioral Sciences. 6th ed. Canada: Wadsworth.
Hulin, C. L.; Drasgow, F.; & Parsons, C. K. (1983). Item Response Theory: Application to Psychological Measurement. Illinois: Dow Jones-Irwin.
Kerlinger, F.N. and Lee, H.B. (2000). Foundations of Behavioral research. 4th ed. Singapore:
Wadsworth.
Linden, Wim J. van der; & Hambleton, R. K. (1996). Handbook of Modern Item Response Theory. New York: Springer.
Shavelson, R. J.; & Webb, N. M. (1991). Generalizability theory: a primer. California: Sage Publications.

Course Online
-

ตารางการเรียนการสอน
ครั้งที่
วันที่
หัวข้อ
ห้องเรียน
วิธีการสอน
ผู้สอน
หมายเหตุ
ไม่พบข้อมูลแผนการสอน
  
 
หมายเหตุการเปลี่ยนแปลง
-