ประมวลการสอนรายวิชา
ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์
รหัสวิชา TH501 ชื่อวิชา FOLKLORE IN THAI SOCIETY จำนวนหน่วยกิต 3
ภาคการศึกษาที่ 1/2554
รหัสวิชา | TH501 |
ชื่อวิชาภาษาไทย | คติชนวิทยาในสังคมไทย |
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ | FOLKLORE IN THAI SOCIETY |
ตอนที่ | M01 |
ระดับ | ปริญญาโท |
คำอธิบายรายวิชา | ||||||||||||
ศึกษาวิะวิทยาทางคติชนวิทยาเพื่อให้สามารถวิเราะห์วิถีชีวิตของคนในสังคมไทยจากข้อมูลที่เป็นมุขปาฐะลแะลายลักษณ์ซึ่งนำไปสู่ความเข้าใจการดำเนินชีวิต ค่านิยม พลังศรัทธา ความเชื่อ การถ่ายทอดและการปฏิบัติ | ||||||||||||
|
||||||||||||
|
||||||||||||
วัตถุประสงค์ | ||||||||||||
1. เพื่อศึกษาขอบข่ายข้อมูลคติชนวิทยาประเภทต่างๆ 2.เพื่อศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลคติชนตามแนวคิดและทฤษฎีต่างๆ 3.เพื่อศึกษาวิธีการ-ปฏิบัติการเก็บข้อมูลภาคสนามและนำเสนอผลงาน |
||||||||||||
การประเมินผลการเรียน | ||||||||||||
1.จิตพิสัยและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน 30% 2.สอบกลางภาค (Mid-term exam) 20% 3.สอบปลายภาค (Final exam) 20% 4.การปฏิบัติการ การนำเสนอ 30% |
||||||||||||
เกณฑ์การพิจารณาตัดเกรด | ||||||||||||
A>80, B+>75, B>70, C+>65, C>60, D+>55, D>50, E<50 | ||||||||||||
เอกสารและสื่อที่ใช้ประกอบการสอน | ||||||||||||
กฤษฎา รุ่งเรือง. (2548). การวิเคราะห์คุณธรรมที่ปรากฏในบทภาพยนตร์การ์ตูนโทรทัศน์เรื่องปลาบู่ทอง. สารนิพนธ์. กศ.ม. (ภาษาไทย). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. จันทร์ศรี นิตยฤกษ์ (ม.ป.ป.). ความรู้เรื่องคติชนวิทยา. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยครูธนบุรี. จินจณา โอสถธนากร และ วนินทร หงสกุล. (2545). ปลุกกระแสการ์ตูนไทย...ปลาบู่ทอง: สัมภาษณ์อรุโณชา ภานุ พันธ์ แห่งบรอดคาซท์ไทย เทเลวิชั่น. วารสารส่งเสริมการลงทุน Thailand Investment Promotion Journal. 13(7): 13-16. ณัฐกานต์ ลิ่มสถาพร (2546). POST MODERN ดีกว่าแบรนด์ ซับซ้อนกว่าโฆษณา. กรุงเทพฯ: ที พี เอ็น เพรส. ธีรยุทธ บุญมี (2547). โลก MODERN & POST MODERN. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สายธาร. บัวผัน สุพรรณยศ (2542). คติชนวิทยา (Folklore). กรุงเทพฯ: เลิฟ แอนด์ ลิฟ. บุษบา เรืองศรี. (2547). ปลาบู่ทองไทย: มรณมาตาเขมร: เปรียบเทียบโลกทรรศน์ของผู้เล่านิทาน. วารสาร ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 1(2): 29- 41. ภาณุพงศ์ อุดมศิลป์ (2549). วิชาคติชนวิทยา (Folklore). กรุงเทพฯ: ศูนย์การพิมพ์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ภูมิจิต เรืองเดช (2542). คติชนวิทยา (Thai Folklore). บุรีรัมย์: สถาบันราชภัฏบุรีรัมย์. ศิราพร ณ ถลาง (2548). ทฤษฎีคติชนวิทยา: วิธีวิทยาในการวิเคราะห์ตำนาน นิทานพื้นบ้าน. กรุงเทพฯ: โครงการ เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศิราพร ณ ถลาง และสุกัญญา ภัทราชัย (บรรณาธิการ 2542). คติชนกับคนไทย-ไท: รวมบทความทางด้านคติชนวิทยา ในบริบททางสังคม (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เสาวลักษณ์ อนันตศานต์ (2543) ทฤษฎีคติชนและวิธีการศึกษา Folklore Theory and Techniques. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง. อารี ถาวรเศรษฐ์ (2546). คติชนวิทยา (Folklore). กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. Anderson, Benedict (1991) Imagined Communities: reflections on the origin and spread of nationalism. London: Verso. Eriksen, Thomas Hylland (1993) Ethnicity and nationalism: anthropological perspectives. London: Pluto Press. Dresser, Norine. (1996). Multicultural Manners: New Rules of Etiquette for a Changing Society. Toronto: John Wiley & Sons, Inc. Hall, Stuart (1990) Cultural Identity and Diaspora, in Rutherford, J. (ed.) Identity. London: Lawrence and Wishart. (1992) The Question of Cultural Identity, in Hall, Stuart., Held, David and McGrew, Tony (1992) Modernity and its future. Cambridge: Polity Press, in association with the Open University. Hobsbawm, Eric and Ranger, Terence (2003). The Invention of Tradition. 10th printing. Cambridge: University Press. Taylor, Charles. (1994) The Politics of Recognition, in Gutmann, Amy (ed.), Multiculturalism: examining the politics of recognition (pp. 25-73). New Jersey: Princeton University Press. |
||||||||||||
Course Online | ||||||||||||
- |
ตารางการเรียนการสอน | ||||||
ครั้งที่ |
วันที่ |
หัวข้อ |
ห้องเรียน |
วิธีการสอน |
ผู้สอน |
หมายเหตุ |
1 | 10 มิ.ย. 2554 | ความหมายและขอบเขตข้อมูลคติชนวิทยา | 01020508 | บรรยาย | อ.ดวงเด่น บุญปก | |
2 | 17 มิ.ย. 2554 | ข้อมูลทางคติชนและการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลตามแนวดั้งเดิม 1 | 01020508 | บรรยาย, ฝึกปฏิบัติ | อ.ดวงเด่น บุญปก | |
3 | 24 มิ.ย. 2554 | ข้อมูลทางคติชนและการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลตามแนวดั้งเดิม 2 | 01020508 | บรรยาย, ฝึกปฏิบัติ | อ.ดวงเด่น บุญปก | |
4 | 1 ก.ค. 2554 | อภิปรายแลกเปลี่ยนทัศนะคติ ประสบการณ์ และวิเคราะห์ปากเปล่าตามแนวการวิเคราะห์แบบดั้งเดิม | 01020508 | ฝึกปฏิบัติ, กิจกรรมกลุ่ม | อ.ดวงเด่น บุญปก | |
5 | 8 ก.ค. 2554 | สัมมนาเอกสารและงานวิจัยตามแนวการวิเคราะห์แบบดั้งเดิม | 01020508 | บรรยาย, สัมมนา | อ.ดวงเด่น บุญปก | |
6 | 15 ก.ค. 2554 | หยุดวันอาสาฬหบูชา | 01020508 | ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | อ.ดวงเด่น บุญปก | |
7 | 22 ก.ค. 2554 | การนำเสนองานวิจัยสู่สาธารณะ | 01020508 | ศึกษาดูงาน, กิจกรรมกลุ่ม | อ.ดวงเด่น บุญปก | |
8 | 29 ก.ค. 2554 | การเก็บข้อมูลภาคสนาม การประดิษฐ์สร้างประเพณี |
01020508 | บรรยาย, กรณีศึกษา | อ.ดวงเด่น บุญปก | |
9 | 5 ส.ค. 2554 | สอบกลางภาค | 01020508 | สอบกลางภาค | อ.ดวงเด่น บุญปก | |
10 | 12 ส.ค. 2554 | หยุดวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ | 01020508 | ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | อ.ดวงเด่น บุญปก | |
11 | 19 ส.ค. 2554 | การนำเสนอผลการเก็บข้อมูลภาคสนามในหัวข้อการประดิษฐ์สร้างประเพณี | 01020508 | บรรยาย, กรณีศึกษา | อ.ดวงเด่น บุญปก | |
12 | 26 ส.ค. 2554 | ศึกษาแนวคิดแบบหลังสมัยใหม่ | 01020508 | บรรยาย, กรณีศึกษา | อ.ดวงเด่น บุญปก | |
13 | 2 ก.ย. 2554 | การวิเคราะห์ข้อมูลคติชนตามแนวทฤษฎีโครงสร้าง | 01020508 | บรรยาย, เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก | อ.ดวงเด่น บุญปก | |
14 | 9 ก.ย. 2554 | ตำนาน นิทาน เรื่องเล่า การแพร่กระจาย แนวคิดสากลและแนวคิดเฉพาะกลุ่มวัฒนธรรม |
01020508 | บรรยาย, กรณีศึกษา | อ.ดวงเด่น บุญปก | |
15 | 16 ก.ย. 2554 | อนุภาคและแบบเรื่อง | 01020508 | บรรยาย, กรณีศึกษา | อ.ดวงเด่น บุญปก | |
16 | 23 ก.ย. 2554 | สัมมนาข้อมูลคติชนในสื่อสิ่งพิมพ์สื่อสารมวลชน และวรรณกรรม | 01020508 | บรรยาย, สัมมนา | อ.ดวงเด่น บุญปก | |
17 | 30 ก.ย. 2554 | นิสิตนำเสนอผลงานการค้นคว้าทางคติชนวิทยา | 01020508 | สัมมนา | อ.ดวงเด่น บุญปก | |
18 | 7 ต.ค. 2554 | สอบปลายภาคแบบอัตนัยผ่านทาง Internet | 01020508 | สอบปลายภาค | อ.ดวงเด่น บุญปก | |
|
||||||
หมายเหตุการเปลี่ยนแปลง | ||||||
- |