ประมวลการสอนรายวิชา

ภาควิชาสุขศึกษา คณะพลศึกษา

รหัสวิชา PEH465 ชื่อวิชา HOLISTIC HEALTH PROMOTION APPROACH  จำนวนหน่วยกิต 2 

ภาคการศึกษาที่ 1/2555


           ข้อมูลเกี่ยวกับวิชา

รหัสวิชา PEH465
ชื่อวิชาภาษาไทย การสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ HOLISTIC HEALTH PROMOTION APPROACH
ตอนที่ B01
ระดับ ปริญญาตรี

คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับสุขภาพ การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ กลวิธีในการส่งเสริมสุขภาพ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวมในแต่ละวัย การจัดระบบบริการสาธารณสุขเชิงรุก นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า การแพทย์ทางเลือก นโยบายสาธารณสุขที่สนับสนุนให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพแนวทางการสร้างคุณค่าและจิตสำนึกในการส่งเสริมสุขภาพ โดยใช้หลักประชาสังคม และการประยุกต์ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ

ผู้สอน
  ชื่อ-สกุล อีเมล์ เวลานิสิตเข้าพบ
อาจารย์สิงหา จันทน์ขาวsinghac@swu.ac.th
 
ห้องเรียน  -  เวลาเรียน:
02160309 ศ. 13:30-16:20

วัตถุประสงค์
1. อธิบาย และวิเคราะห์ถึงแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับสุขภาพ การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ
2. อธิบาย และวิเคราะห์ถึงกลวิธีในการส่งเสริมสุขภาพ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวมในแต่ละวัย
3. อธิบาย และวิเคราะห์ถึงการจัดระบบบริการสาธารณสุขเชิงรุก นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า การแพทย์ทางเลือก นโยบายสาธารณสุขที่สนับสนุนให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพ
4. อธิบายถึงแนวทางการสร้างคุณค่าและจิตสำนึกในการส่งเสริมสุขภาพ โดยใช้หลักประชาสังคม
5. อธิบาย และวิเคราะห์ถึงสถานการณ์ด้านสุขภาพของประเทศไทย
6. ประยุกต์ทฤษฎีทางด้านสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ
7. ฝึกปฏิบัติการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ
 
การประเมินผลการเรียน
1. การประเมินความรู้ทางวิชาการ
- การสอบกลางภาค 30 %
- การสอบปลายภาค 30 %

2. การประเมินการทำงานหรือกิจกรรมในชั้นเรียน
- ประเมินจากพฤติกรรมในชั้นเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตามเวลา
ที่กำหนด การแต่งกาย และการปฏิบัติตนตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 10%
- ประเมินจากคุณภาพการนำเสนอผลงาน แผนงาน/โครงการ รวมทั้งการนำเสนอผลงาน 30%

เกณฑ์การพิจารณาตัดเกรด
ประเมินผลการเรียนโดยวิธีการอิงเกณฑ์ ดังนี้

A 80.00 - 100.00 B+ 75.00 - 79.99
B 70.00 - 74.99 C+ 65.00 - 69.99
C 60.00 - 64.99 D+ 55.00 - 59.99
D 50.00 - 54.99 E 0.00 - 49.99

เอกสารและสื่อที่ใช้ประกอบการสอน
โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และคณะ. วัฒนธรรมสุขภาพกับการเยียวยา : แนวคิดทางสังคมและ
มานุษยวิทยาการแพทย์. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด สามลดา, 2551.
จิระศักดิ์ เจริญพันธ์ และเฉลิมพล ตันสกุล. พฤติกรรมสุขภาพ. มหาสารคาม: คณะสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2549.
ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา และคนอื่นๆ. สุขภาพคนไทย 25545. นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากร
และสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.), 2554.
ฐิติกร ศิริสุขเจริญพร.วิทยาศาสตร์การกีฬา.กรุงเทพฯ : ภาควิชาพลศึกษา คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏ
สวนดุสิต, 2540.
ณรงค์ศักดิ์ หนูสอน. การส่งเสริมสุขภาพในชุมชน แนวคิดและการปฏิบัติ.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.
พานทิพย์ แสงประเสริฐ. การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคเรื้อรัง : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ.
ปทุมธานี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,2554.
ยุวดี จอมพิทักษ์. การแพทย์ การสาธารณสุขเมืองไทย วิวัฒนาการความเป็นมาจากอดีต. กรุงเทพฯ
: โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2545.
ยุวดี รอดจากภัย. แนวคิดและทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาพ. ชลบุรี: โฮ่โกะ เพรช จำกัด, 2554.
วรศักดิ์ เพียรชอบ. รวบบทความเกี่ยวกับปรัชญา หลักการ วิธีสอนและการวัดเพื่อประเมินผลทาง
พลศึกษา.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2548.
วสุธร ตันวัฒนกุล. สุขภาพกับคุณภาพชีวิต เส้นทางที่ต้องร่วมกันพัฒนา. ชลบุรี : คณะสาธารณสุข
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา,2544.
วสุธร ตันวัฒนกุล. อนามัยชุมชนและการสาธารณสุขมูลฐาน. ชลบุรี : คณะสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพา,2544.
วาสนา จันทร์สว่าง. การสื่อสารสุขภาพ : กลยุทธ์ ในงานสุขศึกษาและการสร้างเสริมสุขภาพ.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เจริญดีมั่นคงการพิมพ์ ,2550.
หทัยชนก บัวเจริญ และคณะ. การพยาบาลในระบบสุขภาพ.สมุทรปราการ: โครงการสำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2553.
สมจิต หนูเจริญกุลและคณะ. การส่งเสริมสุขภาพ. นครศรีธรรมราช: สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 2543.
สมบัติ กาญจนกิจ.นันทนาการชุมชนและโรงเรียน.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
2542.
สุชาติ โสมประยูร และ เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์. การบริหารงานสุขศึกษาในโรงเรียน. กรุงเทพฯ:
สุขภาพใจ, 2542.


สุชาติ โสมประยูร และ เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์. เทคนิคการสอนสุขศึกษาแบบมืออาชีพ.
กรุงเทพฯ: ยูแพดอินเตอร์ จำกัด, 2553.
สุวิมล ตั้งสัจพจน์.นันทนาการและการใช้เวลาว่าง.กรุงเทพฯ : เอดิสันเพรสโพรดักส์, 2553.
สำนักส่งเสริมสุขภาพ. คู่มือการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ. นนทบุรี: กรมอนามัย กระทรวง
สาธารณสุข, 2554.
เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์ (บรรณาธิการ). การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนางานสุขภาพในโรงเรียน.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548.

Course Online
-

ตารางการเรียนการสอน
ครั้งที่
วันที่
หัวข้อ
ห้องเรียน
วิธีการสอน
ผู้สอน
หมายเหตุ
1 15 มิ.ย. 2555 ปฐมนิเทศรายวิชา
แนวทางการจัดการเรียนการสอน
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การทดสอบก่อนเรียน
02160309บรรยาย, กิจกรรมกลุ่ม, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง, เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก, กรณีศึกษาอ.สิงหา จันทน์ขาว
2 22 มิ.ย. 2555 แนวความคิดเกี่ยวกับสุขภาพ
การสาธารณสุขมูลฐาน
องค์ประกอบและลักษณะการบริการสุขภาพ
ระบบบริการสาธารณสุข
02160309บรรยาย, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง, เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก, กรณีศึกษาอ.สิงหา จันทน์ขาว
3 29 มิ.ย. 2555 แนวความคิดเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม
-ความหมายของการสร้างเสริมสุขภาพ
-วิวัฒนาการการสร้างเสริมสุขภาพในประเทศไทย
-นโยบายของการสร้างเสริมสุขภาพในประเทศไทย
-หลักการสร้างเสริมสุขภาพ
-ยุทธศาสตร์การสร้างเสริมสุขภาพ
-รูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพ
02160309บรรยาย, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง, เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก, กรณีศึกษาอ.สิงหา จันทน์ขาว
4 6 ก.ค. 2555 แนวความคิดเกี่ยวกับการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพ
-ความหมายและประเภทของพฤติกรรมสุขภาพ
-ทักษะและกลวิธีการสร้างเสริมสุขภาพ
แนวความคิดเกี่ยวกับทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาพระดับบุคคล
02160309บรรยาย, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง, เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก, กรณีศึกษาอ.สิงหา จันทน์ขาว
5 13 ก.ค. 2555 แนวความคิดเกี่ยวกับทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาพระดับชุมชน
นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
การแพทย์ทางเลือก
การสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการสร้างเสริมสุขภาพ
ทักษะที่จำเป็นของนักสร้างเสริมสุขภาพ
02160309บรรยาย, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง, เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก, กรณีศึกษาอ.สิงหา จันทน์ขาว
6 20 ก.ค. 2555 แนวความคิดเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน
-สถานศึกษา
-สถานพยาบาล
-สถานประกอบการ
-วัด
-ตลาด
02160309บรรยาย, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง, เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก, กรณีศึกษาอ.สิงหา จันทน์ขาว
7 27 ก.ค. 2555 การวางแผนการดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพ
การเขียนโครงการสร้างเสริมสุขภาพ
การประยุกต์ทฤษฎีทางด้านสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ
02160309บรรยาย, ฝึกปฏิบัติ, กิจกรรมกลุ่ม, เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก, กรณีศึกษาอ.สิงหา จันทน์ขาว
8 3 ส.ค. 2555 การนำเสนอผลการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพและการเสนอแนะแนวทางการสร้างเสริมสุขภาพ 02160309ฝึกปฏิบัติ, กิจกรรมกลุ่มอ.สิงหา จันทน์ขาว
9 10 ส.ค. 2555 สอบกลางภาค 02160309สอบกลางภาคอ.สิงหา จันทน์ขาว
10 17 ส.ค. 2555 การประเมินภาวะสุขภาพ
แนวความคิดเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพด้านอาหาร
02160309บรรยาย, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง, เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก, กรณีศึกษาอ.สิงหา จันทน์ขาว
11 24 ส.ค. 2555 แนวความคิดเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพด้านการออกกำลังกาย 02160309บรรยาย, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง, เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก, กรณีศึกษาอ.สิงหา จันทน์ขาว
12 31 ส.ค. 2555 แนวความคิดเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพด้านอารมณ์และการจัดการความเครียด 02160309บรรยาย, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง, เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก, กรณีศึกษาอ.สิงหา จันทน์ขาว
13 7 ก.ย. 2555 แนวความคิดเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพวัยทารก เด็ก และวัยรุ่น 02160309บรรยาย, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง, เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก, กรณีศึกษาอ.สิงหา จันทน์ขาว
14 14 ก.ย. 2555 แนวความคิดเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพวัยผู้ใหญ่ วัยสูงอายุ 02160309บรรยาย, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง, เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก, กรณีศึกษาอ.สิงหา จันทน์ขาว
15 21 ก.ย. 2555 แนวความคิดเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 02160309บรรยาย, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง, เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก, กรณีศึกษาอ.สิงหา จันทน์ขาว
16 28 ก.ย. 2555 การศึกษาดูงาน 02160309ศึกษาดูงานอ.สิงหา จันทน์ขาว
17 5 ต.ค. 2555 สอบปลายภาค 02160309สอบปลายภาคอ.สิงหา จันทน์ขาว
  
 
หมายเหตุการเปลี่ยนแปลง
-