ประมวลการสอนรายวิชา

ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์

รหัสวิชา PO242 ชื่อวิชา INTERNATIONAL ORGANIZATIONS  จำนวนหน่วยกิต 3 

ภาคการศึกษาที่ 1/2556


           ข้อมูลเกี่ยวกับวิชา

รหัสวิชา PO242
ชื่อวิชาภาษาไทย องค์การระหว่างประเทศ
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ INTERNATIONAL ORGANIZATIONS
ตอนที่ B01
ระดับ ปริญญาตรี

คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาแนวความคิด ความเป็นมาขององค์การระหว่างประเทศ รวมทั้งพฤติกรรมและบทบาทที่เกี่ยวข้องกับปัญหาระหว่างประเทศ

ผู้สอน
  ชื่อ-สกุล อีเมล์ เวลานิสิตเข้าพบ
อาจารย์ประพีร์ อภิชาติสกลprapee@swu.ac.th วันพุธ 13.30-14.30 น.
 
ห้องเรียน  -  เวลาเรียน:
01110803 อ. 14:30-17:20

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้นิสิตมีความรู้และเข้าใจในกรอบความคิด ทฤษฎี และวิธีการศึกษาองค์การระหว่างประเทศ
2. เพื่อให้นิสิตมีความรู้และเข้าใจในประวัติและพัฒนาการขององค์การระหว่างประเทศ
3. เพื่อให้นิสิตมีความรู้และเข้าใจในรูปแบบขององค์การ วัตถุประสงค์ หน้าที่และบทบาท
ขององค์การระหว่างประเทศที่สำคัญทั้งในอดีตและปัจจุบัน
 
การประเมินผลการเรียน
 สอบกลางภาค 30 คะแนน
 สอบปลายภาค 40 คะแนน
 รายงาน (เป็นกลุ่ม) 20 คะแนน
 การเข้าชั้นเรียนและการทดสอบย่อย 10 คะแนน
หมายเหตุ วิธีการวัดผลและคะแนนอาจจะเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสมทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการตกลงกันระหว่างนิสิตและอาจารย์ผู้สอน

เกณฑ์การพิจารณาตัดเกรด
80 คะแนนขึ้นไป A
75-79.99 คะแนน B+
70-74.99 คะแนน B
65-69.99 คะแนน C+
60-64.99 คะแนน C
55-59.99 คะแนน D+
50-54.99 คะแนน D
ต่ำกว่า 50 คะแนน E

เอกสารและสื่อที่ใช้ประกอบการสอน
กฤษณา ไวสำรวจ และธนาสฤษฎิ์ สตะเวทิน. องค์การระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ: คณะ รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2532.
กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์.องค์การการค้าโลกและกลุ่มเศรษฐกิจระหว่าง
ประเทศ.กรุงเทพฯ: กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์, 2540.
กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์.การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่างๆ.
กรุงเทพฯ: กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์, 2545.
ขจิต จิตตเสวี.องค์การระหว่างประเทศ(องค์การระหว่างประเทศในกระแสโลกาภิวัตน์และภูมิ
ภาคาภิวัตน์).กรุงเทพฯ:วิญญูชน, 2552.
จุลชีพ ชินวรรณโณ.สู่สหัสวรรษที่ 3 : กระแสเศรษฐกิจการเมืองโลกที่ไร้พรมแดน. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์ชวนพิมพ์,2544.
เชิดชาย เหล่าหล้า. สหประชาชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แพร่พิทยา, 2526.
ประภัสสร์ เทพชาตรี,บรรณาธิการ.ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.กรุงเทพฯ : โครงการอาเซียน
ศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2552.
ประภัสสร์ เทพชาตรี,บรรณาธิการ.ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน .กรุงเทพฯ :
โครงการอาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2552.
ประภัสสร์ เทพชาตรี,บรรณาธิการ. สู่ประชาคมอาเซียน 2015. กรุงเทพฯ : โครงการอาเซียน
ศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2552.
ปิยะพงษ์ บุษบงก์, บรรณาธิการ. อาเซียน : ประเด็นปัญหาและความท้าทาย.มหาสารคาม :
วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2552.
มานพ เมฆประยูรทอง. องค์การสหประชาชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอ
เดียนสโตร์, 2533.
ทัชมัย ฤกษะสุต. กฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ องค์การการค้าโลก(WTO) : บททั่วไป.
กรุงเทพฯ: วิญญูชน ,2549.
ธนาสฤษฎิ์ สตะเวทิน และ กฤษณา กู้ตลาด. องค์การระหว่างประเทศ.กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัย
รามคำแหง, 2517.
วิมลวรรณ ภัทโรดม. สหภาพยุโรป.กรุงเทพฯ : ศูนย์ยุโรปศึกษา จุฬาฯ,2546.
วิมลวรรณ ภัทโรดม. สหภาพยุโรปโฉมใหม่ และ 25 ประเทศสมาชิก. กรุงเทพฯ : ศูนย์ยุโรปศึกษา จุฬาฯ,2549.
วินิตา ศุกรเสพ.อาเซียนในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ : กำเนิดและพัฒนาการ.กรุงเทพฯ : สถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ จุฬาฯ, 2527.
สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์. สงครามเขตการค้า.กรุงเทพฯ: เดอะเนชั่น, 2536.
สมพงศ์ ชูมาก. การปฏิบัติการรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.
สมพงศ์ ชูมาก. องค์การระหว่างประเทศ: สันนิบาตชาติ สหประชาชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิยาลัย, 2533.
สมนึก แตงเจริญ.การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ.กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง,2518.
สมนึก แตงเจริญ.ทฤษฎีว่าด้วยการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ.กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒน
บริหารศาสตร์,2537.
สีดา สอนศรี.ความร่วมมือของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในการก่อตั้งองค์การ
ส่วนภูมิภาค,1945-1985. กรุงเทพฯ : ศูนย์วิจัย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2529
สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย. เอกสารการสอนชุดวิชากฎหมายระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศหน่วยที่ 9-15. พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2535.
อรณี นวลสุวรรณ์. พัฒนาการของประชาคมยุโรปตั้งแต่ ค.ศ.1980 สู่สหภาพยุโรป. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.
อุกฤษฎ์ ปัทมานันท์, บรรณาธิการ.อาเซียนใหม่.กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.


Course Online
-

ตารางการเรียนการสอน
ครั้งที่
วันที่
หัวข้อ
ห้องเรียน
วิธีการสอน
ผู้สอน
หมายเหตุ
1 11 มิ.ย. 2556 แนะนำการเรียน และรายวิชา ชี้แจงเกี่ยวกับการเรียนการสอน การสอบ และเกณฑ์การประเมินผล 01110803บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
2 18 มิ.ย. 2556 -แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับองค์การระหว่างประเทศ
- นิยามและลักษณะพื้นฐานขององค์การระหว่างประเทศ
-ทฤษฎีเกี่ยวกับองค์การระหว่างประเทศ
01110803บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
3 25 มิ.ย. 2556 -ประวัติและพัฒนาการขององค์การระหว่างประเทศ
-พัฒนาการขององค์การระหว่างประเทศ
-ลักษณะทางกฎหมายขององค์การระหว่างประเทศ
-ประเภทขององค์การระหว่างประเทศ
01110803บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
4 2 ก.ค. 2556 สันนิบาตชาติ
-ภูมิหลัง
-แนวคิดในการก่อตั้งสันนิบาตชาติ
-วัตถุประสงค์ของสันนิบาตชาติ
-การจัดองค์การของสันนิบาตชาติ
01110803บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
5 9 ก.ค. 2556 -กิจกรรมและบทบาทของสันนิบาตชาติ
-สาเหตุของความล้มเหลวของสันนิบาตชาติ
01110803บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
6 16 ก.ค. 2556 สหประชาชาติ
-ภูมิหลัง
-องค์ประกอบ
-การจัดการองค์กร
-ขอบเขตและหน้าที่ขององค์กรต่างๆ
01110803บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
7 30 ก.ค. 2556 •สหประชาชาติกับการรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ
-การแก้ไขกรณีพิพาทโดยสันติวิธี
-การแก้ไขกรณีพิพาทโดยการใช้วิธีบีบบังคับ
-การปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (Peace-Keeping operations)
-อุปสรรคในการดำเนินงานของสหประชาชาติ
-การเปลี่ยนแปลงบทบาทของสหประชาชาติ
•บทบาทของสหประชาชาติในด้านอื่นๆ เช่น ด้านเศรษฐกิจ ด้านสิทธิมนุษยชน เป็นต้น
01110803บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
8 6 ส.ค. 2556 สอบกลางภาค 01110803สอบกลางภาคอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
9 13 ส.ค. 2556 -มอบหมายรายงาน
•บทบาทขององค์การระหว่างประเทศด้านการเมือง การทหาร
-องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ (NATO)
-องค์การสนธิสัญญากรุงวอซอว์ (Warsaw Pact)
-องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (สปอ. หรือ ซีโต้ Southeast Asia Treaty Organization - SEATO)
-องค์การความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป(OSCE)
-กรณีศึกษาต่างๆ
01110803บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
10 20 ส.ค. 2556 บทบาทขององค์การระหว่างประเทศด้านการค้าและการเงิน
-องค์การการค้าโลก (WTO)
-กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF)
-ธนาคารโลก (World Bank)
-กรณีศึกษาต่างๆ
01110803บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
11 27 ส.ค. 2556 การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ (Economic Integration)
-ทฤษฎีการรวมกลุ่มระหว่างประเทศ
-ขั้นตอนการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
-กลุ่มเศรษฐกิจที่สำคัญต่างๆ เช่น ความตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ (NAFTA) เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชีย-แปซิฟิก (APEC) ตลาดร่วมอเมริกาใต้ (Mercosur) สหภาพทางเศรษฐกิจเบเนลักซ์ (Benelux Economic Union) กลุ่ม BRIC เป็นต้น
01110803บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
12 3 ก.ย. 2556 องค์การในระดับภูมิภาค (Regional Organizations)
-แนวความคิดต่างๆเกี่ยวกับภูมิภาคนิยม (Regionalism)
-ความหมายของภูมิภาคนิยมและองค์การระดับภูมิภาค
-หลักการภูมิภาคกับกฎบัตรสหประชาชาติ
-การรวมตัวในระดับภูมิภาคที่สำคัญ อันได้แก่ สหภาพยุโรป (EU) สมาคมประชาชาติเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN)
-กรณีศึกษา สหภาพยุโรป (EU)
01110803บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
13 10 ก.ย. 2556 สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN)
-ประวัติความเป็นมา
-วัตถุประสงค์การก่อตั้ง
-พัฒนาการความร่วมมือในด้านต่างๆ
-ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
-กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)
สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN)
-ประวัติความเป็นมา
-วัตถุประสงค์การก่อตั้ง
-พัฒนาการความร่วมมือในด้านต่างๆ
-ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
-กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)
01110803บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
14 17 ก.ย. 2556 - นิสิตนำเสนอรายงาน
- ทบทวนก่อนสอบปลายภาค
01110803บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
15 24 ก.ย. 2556 - นิสิตนำเสนอรายงาน
- ทบทวนก่อนสอบปลายภาค
01110803บรรยายอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
16 1 ต.ค. 2556 สอบปลายภาค 01110803สอบปลายภาคอ.ประพีร์ อภิชาติสกล
  
 
หมายเหตุการเปลี่ยนแปลง
-