ประมวลการสอนรายวิชา

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์

รหัสวิชา CVE231 ชื่อวิชา ENGINEERING GEOLOGY  จำนวนหน่วยกิต 3 

ภาคการศึกษาที่ 1/2557


           ข้อมูลเกี่ยวกับวิชา

รหัสวิชา CVE231
ชื่อวิชาภาษาไทย ธรณีวิทยาทางวิศวกรรม
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ENGINEERING GEOLOGY
ตอนที่ B02
ระดับ ปริญญาตรี

คำอธิบายรายวิชา
แร่และหิน หินอัคนี และสภาพธรณีวิทยาของหินอัคนี หินชั้น หินแปร การลำดับชั้นหินเบื้องต้นและระยะเวลาทางธรณี ธรณีภายภาพ แผนที่ธรณีวิทยา การสำรวจสภาพธรณีวิทยาของเส้นทางคมนาคมปฏิบัติการแร่และหิน ปฏิบัติการโครงสร้าง ธรณีวิทยา ปฏิบัติการแปลแผนที่ธรณีวิทยา เพื่อประยุกต์ในงานก่อสร้างต่าง ๆ และงานชลประทาน/เกษตร สภาพอุทกธรณีวิทยาเบื้องต้น

ผู้สอน
  ชื่อ-สกุล อีเมล์ เวลานิสิตเข้าพบ
อาจารย์อัฐสิทธิ์ ศิริวชิราภรณ์attasit@swu.ac.th จ,พ 8.30-12.00 น.
นางปรารถนา ประชานุรักษ์pradthanap@swu.ac.th พฤ-ศ 8.30-12.00 น.
 
ห้องเรียน  -  เวลาเรียน:
02999999 อ. 16:30-19:20

วัตถุประสงค์
1. เพื่อสร้างความรู้และความเข้าใจแก่นิสิตในวิชาธรณีวิทยาเบื้องต้น และในเชิงวิศวกรรมโยธา
2. เพื่อเป็นวิชาพื้นฐานของวิชาอื่นๆในสาขาวิศวกรรมโยธา
3. เพื่อเป็นพื้นฐานในการทำวิทยานิพนธ์
 
การประเมินผลการเรียน
สอบกลางภาค & สอบปลายภาค 100 คะแนน
Homework & Quiz 10 คะแนน
เข้าเรียน & กิจกรรม 10 คะแนน
รวม 100 คะแนน

เกณฑ์การพิจารณาตัดเกรด
ผลระดับคะแนนจะถูกแปลงให้เป็น
A ดีเยี่ยม = 4.0 B+ ดีมาก = 3.5
B ดี = 3.0 C+ ดีพอใช้ = 2.5
C พอใช้ = 2.0 D+ อ่อน = 1.5
D อ่อนมาก = 1.0 E ตก = 0.0

เอกสารและสื่อที่ใช้ประกอบการสอน
1. อัฐสิทธิ์ ศิริวชิราภรณ์, 2557, เอกสารประกอบการสอน ธรณีวิทยาทางวิศวกรรม, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ
2. วัรินทร์ กาสลัก, เอกสารประกอบการสอน ธรณีวิทยาทางวิศวกรรม, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น
3. R.F. Legget, A.W. Hatheway, Geology and Engineering, New York: McGraw-Hill, c1988, 613p.

Course Online
-

ตารางการเรียนการสอน
ครั้งที่
วันที่
หัวข้อ
ห้องเรียน
วิธีการสอน
ผู้สอน
หมายเหตุ
ไม่พบข้อมูลแผนการสอน
  
 
หมายเหตุการเปลี่ยนแปลง
สัปดาห์ที่ หัวข้อ
1. บทนำ
2. แร่และหิน
3. หินอัคนี และสภาพธรณีวิทยาของหิน
4. หินชั้น หินแปร
5. การลำดับชั้นหินเบื้องต้น
6. ระยะเวลาทางธรณี
7. ธรณีกายภาพ
8. แผนที่ธรณีวิทยา
9. สอบกลางภาค
10. การสำรวจสภาพธรณีวิทยาของเส้นทางคมนาคม
11. ปฏิบัติการแร่และหิน
12. โครงสร้างทางธรณีวิทยา
13. การแปลแผนที่ทางธรณีวิทยา
14. การแปลแผนที่ทางธรณีวิทยาเพื่อประยุกต์ในงานก่อสร้างต่างๆ
15. การแปลแผนที่ทางธรณีวิทยาเพื่อประยุกต์ในงานชลประทาน/เกษตร
16. สภาพอุทกธรณีวิทยาเบื้องต้น
17. สอบปลายภาค