ประมวลการสอนรายวิชา

ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์

รหัสวิชา PO102 ชื่อวิชา ECONOMICS FOR POLITICAL SCIENCE  จำนวนหน่วยกิต 3 

ภาคการศึกษาที่ 1/2557


           ข้อมูลเกี่ยวกับวิชา

รหัสวิชา PO102
ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์สำหรับรัฐศาสตร์
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ECONOMICS FOR POLITICAL SCIENCE
ตอนที่ B01
ระดับ ปริญญาตรี

คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาแนวคิดทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหภาคที่เกี่ยวกับอุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพตลาด การจัดสรรทรัพยากรภายใต้โครงสร้างตลาดที่มีการแข่งขันสมบูรณ์ และการแข่งขันไม่สมบูรณ์ การผูกขาด การป้องกันการผูกขาด ความรุ้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์สวัสดิการ เป้าหมายรวมของระบบเศรษฐกิจ รายได้ประชาชาติ การค้าระหว่างประเทศและการไหลของเงินทุนระหว่างประเทศนโยบายการเงิน นโยบายการคลัง และนโยบายเศรษฐกิจอื่น

ผู้สอน
  ชื่อ-สกุล อีเมล์ เวลานิสิตเข้าพบ
รองศาสตราจารย์วรพิทย์ มีมากvorapit@swu.ac.th
 
ห้องเรียน  -  เวลาเรียน:
01999999 จ. 14:30-17:20

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
2. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจโดยรวม
3. เพื่อให้นักศึกษาอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐศาสตร์เบื้องต้นกับระบบเศรษฐกิจได้
4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์เบื้องต้นในชีวิตประจำวันได้
 
การประเมินผลการเรียน
สอบกลางภาค 35 คะแนน
สอบปลายภาค 35 คะแนน
รายงานประจำภาค 30 คะแนน

เกณฑ์การพิจารณาตัดเกรด
คะแนน 90 - 100 ได้ระดับ A
คะแนน 80 - 89 ได้ระดับ B+
คะแนน 70 - 79 ได้ระดับ B
คะแนน 60 - 69 ได้ระดับ C +
คะแนน 50 - 59 ได้ระดับ C
คะแนน 40 - 49 ได้ระดับ D +
คะแนน 30 - 39 ได้ระดับ D
คะแนนต่ำกว่า 30 ได้ระดับ E

เอกสารและสื่อที่ใช้ประกอบการสอน
กฤตยา ตติรังสรรค์สุข. เศรษฐศาสตร์มหภาคเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556.
ชยันต์ ตันติวัสดาการ. เศรษฐศาสตร์จุลภาค. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2556.
ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์. เศรษฐศาสตร์มหภาค ทฤษฎี นโยบายและการวิเคราะห์สมัยใหม่. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550.
ภราดร ปรีดาศักดิ์. หลักเศรษฐศาสตร์จุลภาค. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2556.
รัตนา สายคณิต และชลลดา จามรกุล. เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550.
ราตรี สิทธิพงษ์. เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท, 2552.
วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553.
วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. หลักเศรษฐศาสตร์จุลภาค. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2556.
วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. หลักเศรษฐศาสตร์มหภาค. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2555.
วิรุณสิริ ใจมา. เศรษฐศาสตร์จุลภาค. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.
สุจิตรา กุลประสิทธิ์. เศรษฐศาสตร์จุลภาค. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ออฟเซ็ท, 2550.
สุจิตรา กุลประสิทธิ์. เศรษฐศาสตร์มหภาค. กรุงเทพฯ: เอส.พี. คอม อินเตอร์พริ้นท์, 2555.
Colander, David C. Economics. New York: McGraw-Hill/Irwin, 2010.
Dasgupta, Partha. Economics. New York: Sterling, 2010.
Hubbard, R. Glenn and O' Brien, Anthony Patrick. Economics Boston: Pearson, 2013.
Krugman, Paul R. and Wells, Robin. Economics. New York: Worth Publishers, 2013.
Parkin, Michael. Economics. Boston: Pearson Education, 2012.

Course Online
-

ตารางการเรียนการสอน
ครั้งที่
วันที่
หัวข้อ
ห้องเรียน
วิธีการสอน
ผู้สอน
หมายเหตุ
ไม่พบข้อมูลแผนการสอน
  
 
หมายเหตุการเปลี่ยนแปลง
-