ประมวลการสอนรายวิชา

สำนักวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสาธารณะ สำนักวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสาธารณะ

รหัสวิชา EC222 ชื่อวิชา MACROECONOMICS  จำนวนหน่วยกิต 3 

ภาคการศึกษาที่ 1/2558


           ข้อมูลเกี่ยวกับวิชา

รหัสวิชา EC222
ชื่อวิชาภาษาไทย เศรษฐศาสตร์มหภาค
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ MACROECONOMICS
ตอนที่ B01
ระดับ ปริญญาตรี

คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาแนวคิดและวิธีการทางเศรษฐศาสตร์ที่ว่าด้วยธุรกรรมทางเศรษฐกิจ กระแสการไหลเวียนในระบบเศรษฐกิจ การกำหนดรายได้ประชาชาติ บัญชีรายได้ประชาชาติ ทฤษฎีว่าด้วยการบริโภคและการลงทุน การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพรายได้ประชาชาติ ตัวแปรเศรษฐกิจมหภาค ตลาดเงิน อุปสงค์และอุปทานของเงิน เงินเฟ้อและเงินฝืด การว่างงาน ดุลการชำระเงิน นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง และการดำเนินธุรกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ

ผู้สอน
  ชื่อ-สกุล อีเมล์ เวลานิสิตเข้าพบ
อาจารย์ประพาฬ เฟื่องฟูสกุลpraparn@swu.ac.th วันอังคาร เวลา 13.00-16.00 น.
นางสาวณัฐญา ประไพพานิชnattayapr@swu.ac.th วันพุธ เวลา 13.00-16.00 น.
 
ห้องเรียน  -  เวลาเรียน:
01190815 พ. 09:30-12:20

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มหภาค
2.เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้เกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มหภาคไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์สถานการณ์และปัญหาทางเศรษฐกิจ รวมทั้งวิธีการแก้ไขปัญหาโดยรวม
3.เพื่อเป็นพื้นฐานสำหรับการศึกษาเศรษฐศาสตร์มหภาคขั้นสูงต่อไป
 
การประเมินผลการเรียน
-สอบกลางภาค 40 %
-การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน งานที่มอบหมายและแบบฝึกหัด 20 %
-สอบปลายภาค 40 %
รวม 100 %

เกณฑ์การพิจารณาตัดเกรด
อิงเกณฑ์และอิงกลุ่ม

เอกสารและสื่อที่ใช้ประกอบการสอน
เอกสารอ่านประกอบ (Supplementary Readings)
กฤตยา ตติรังสรรค์. เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556.
บุญคง หันจางสิทธิ์. เศรษฐศาสตร์มหภาค. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2556.
ประพันธ์ เศวตนันท์. เศรษฐศาสตร์มหภาค. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.
รัตนา สายคณิต. มหเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.
วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. หลักเศรษฐศาสตร์มหภาค. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2555.
Campbell McConnell, Stanley Brue, and Sean Flynn. Macroeconomics 20thEdition. McGraw-Hill Higher Education, 2014.
Karl E. Case, Ray C. Fair, and Sharon Oster. Principles of Macroeconomics. 11th Edition, Prentice Hall, 2013.
N. Gregory Mankiw. Principles of Macroeconomics, 7th Edition.Cengage Learning, 2003.
Robert J. Gordon. Macroeconomics.12th Edition, Prentice Hall, 2011.
Rudiger Dornbusch, Stanley Fischer, and Richard Startz. Macroeconomics. 12thEdition, 2013.
เอกสารและข้อมูลแนะนำ
1) รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์การบริหารนโยบายเสถียรภาพเศรษฐกิจในอนาคต.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาศตร์, 2546.
2) ศุภวุฒิ สายเชื้อ และถนอมศรี ฟองอรุณรุ่ง บรรณาธิการ เศรษฐกิจต้องรู้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน, 2551.
3) เว็บไซต์ของธนาคารแห่งประเทศไทย: www.bot.go.th
4) เว็บไซต์ของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ: www.nesdb.go.th
เอกสารและข้อมูลสำคัญ
5) ถนอมศักดิ์ จิรายุสวัสดิ์ และราช รามัญ บรรณาธิการ เข็มทิศ เศรษฐกิจไทย เศรษฐกิจโลก. กรุงเทพฯ ปราชญ์ สำนักพิมพ์,2554.
6) พิทยา ว่องกุล บรรณาธิการ วิกฤติเอเชีย. กรุงเทพฯ: โครงการวิถีทรรศน์, 2542.
7) ปกป้อง จันวิทย์ บรรณาธิการ วิกฤติเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา. กรุงเทพฯ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2552.
8) ปิยศักดิ์ มานะสันต์ ทศวรรษแห่งวิกฤติ. กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์กรุงเทพธุรกิจBizbook, 2553.

Course Online
-

ตารางการเรียนการสอน
ครั้งที่
วันที่
หัวข้อ
ห้องเรียน
วิธีการสอน
ผู้สอน
หมายเหตุ
1 19 ส.ค. 2558 บทที่ 1 บทนำ
- เศรษฐศาสตร์คืออะไร
- ปัญหาขั้นมูลฐานทางเศรษฐกิจ
- หน่วยเศรษฐกิจ
- แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์
- Positive Economics และ Normative Economics
- วิวัฒนาการของเศรษฐศาสตร์มหภาค
- ตัวแปรเศรษฐศาสตร์มหภาคที่สำคัญ
- ตัวแปรสต๊อคและตัวแปรโพล
- เป้าหมายด้านเศรษฐกิจมหภาค
- ความหลงผิดทางตรรก
01140305บรรยาย, ฝึกปฏิบัติอ.ประพาฬ เฟื่องฟูสกุล
2 26 ส.ค. 2558 บทที่ 2 บัญชีรายได้ประชาชาติ และผลิตภัณฑ์ประชาชาติ
- กระแสการหมุนเวียนของระบบเศรษฐกิจ
- ความหมายและการคำนวณรายได้ประชาชาติ
- รายได้ประชาชาติที่เป็นตัวเงินและรายได้ประชาชาติที่แท้จริง
- บัญชีรายได้ประชาชาติของประเทศไทย
- ประโยชน์ของรายได้ประชาชาติ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ กับสวัสดิการสังคม
01140305บรรยาย, ฝึกปฏิบัติอ.ประพาฬ เฟื่องฟูสกุล
3 2 ก.ย. 2558 บทที่ 3 ความต้องการใช้จ่ายมวลรวม
3.1 การใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม
- ปัจจัยที่กำหนดการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม
- ฟังก์ชั่นการบริโภคและการออม
- การเปลี่ยนแปลงจำนวนการบริโภค/การออม
- การเปลี่ยนแปลงการบริโภค/การออม
01140305บรรยาย, ฝึกปฏิบัติอ.ประพาฬ เฟื่องฟูสกุล
4 9 ก.ย. 2558 บทที่ 3 (ต่อ)
3.2 การลงทุน
- ปัจจัยที่กำหนดการลงทุน
- ฟังก์ชั่นการลงทุน
- การเปลี่ยนแปลงปริมาณการลงทุน
- การเปลี่ยนแปลงการลงทุน
3.3 การใช้จ่ายของรัฐบาล
- ปัจจัยที่กำหนดการใช้จ่ายรัฐบาล
- ฟังก์ชั่นการใช้จ่ายของรัฐบาล
- การเปลี่ยนแปลงการใช้จ่ายของรัฐบาล
3.4 การค้าระหว่างประเทศ
- การส่งออกและการนำเข้า
- ปัจจัยที่กำหนดการส่งออกและการนำเข้า
- ฟังก์ชั่นสินค้าส่งออกและสินค้านำเข้า
- การเปลี่ยนแปลงสินค้าส่งออก
- การเปลี่ยนแปลงปริมาณสินค้านำเข้า
- การเปลี่ยนแปลงสินค้านำเข้า
01140305บรรยาย, ฝึกปฏิบัติอ.ประพาฬ เฟื่องฟูสกุล
5 16 ก.ย. 2558 บทที่ 4การกำหนดระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพและระดับการจ้างงานดุลยภาพ
4.1 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
- วิเคราะห์จากความต้องการใช้จ่ายมวลรวม
- วิเคราะห์จากส่วนรั่วไหลและส่วนอัดฉีด
4.2 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพในระบบเศรษฐกิจกรณีไม่มีภาครัฐบาล
- การกำหนดระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพและระดับการจ้างงานดุลยภาพ
01140305บรรยาย, ฝึกปฏิบัติอ.ประพาฬ เฟื่องฟูสกุล
6 23 ก.ย. 2558 บทที่ 4(ต่อ)
4.2 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพในระบบเศรษฐกิจกรณีไม่มีภาครัฐบาล (ต่อ)
- การเปลี่ยนแปลงของระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพและระดับการจ้างงานดุลยภาพ
- ทฤษฎีว่าด้วยตัวทวีคูณ
- การขัดแย้งของการประหยัด
- รายได้ประชาชาติที่เกิดขึ้นจริงและรายได้ประชาชาติศักยภาพ
- ช่วงห่างเงินเฟ้อและช่วงห่างเงินฝืด
01140305บรรยาย, ฝึกปฏิบัติอ.ประพาฬ เฟื่องฟูสกุล
7 30 ก.ย. 2558 บทที่ 4(ต่อ)
4.3 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพในระบบเศรษฐกิจแบบปิดกรณีที่มีภาครัฐบาล
- การกำหนดระดับรายได้ประชาชาติ
- การเปลี่ยนแปลงระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
- ตัวทวีคูณการใช้จ่ายรัฐบาล ตัวทวีคูณภาษีและตัวทวีคูณเงินโอน
01140305บรรยาย, ฝึกปฏิบัติอ.ประพาฬ เฟื่องฟูสกุล
8 7 ต.ค. 2558 บทที่ 4(ต่อ)
4.4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพในระบบเศรษฐกิจแบบเปิด
- การกำหนดระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
- การเปลี่ยนแปลงระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
- ตัวทวีคูณการส่งออก และตัวทวีคูณการนำเข้า
01140305บรรยาย, ฝึกปฏิบัติ, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.ประพาฬ เฟื่องฟูสกุล มอหมายงานกลุ่ม
9 14 ต.ค. 2558 บทที่ 1-4 01140305สอบกลางภาคอ.ประพาฬ เฟื่องฟูสกุล
10 21 ต.ค. 2558 บทที่ 5 ตลาดเงินและนโยบายการเงิน
- คำนิยามของเงิน
- คำนิยามของปริมาณเงิน
- บทบาทของเงินในทรรศนะของนักเศรษฐศาสตร์ต่างๆ
- ดุลยภาพในตลาดเงิน
- นโยบายการเงิน
- ประเภทของนโยบายการเงิน
- เครื่องมือของนโยบายการเงิน
01140305บรรยาย, ฝึกปฏิบัติน.ส.ณัฐญา ประไพพานิช
11 28 ต.ค. 2558 บทที่ 6 แบบจำลอง IS-LM
- ตลาดผลผลิตกับเส้น IS
- ตลาดเงินกับ เส้น LM
- ความชันของเส้น IS และเส้น LM
- การเปลี่ยนแปลงของเส้น IS และเส้น LM
- ดุลยภาพในตลาดผลผลิตและตลาดเงิน
- ความชันของเส้น IS และเส้น LM กับประสิทธิผลของนโยบายการเงินและนโยบายการคลัง
01140305บรรยาย, ฝึกปฏิบัติน.ส.ณัฐญา ประไพพานิช มอบหมายงาน
12 4 พ.ย. 2558 บทที่ 7นโยบายการคลัง
- ความหมายของนโยบายการคลัง
- วัตถุประสงค์ของนโยบายการคลัง
- เครื่องมือของนโยบายการคลัง
- ประเภทของนโยบายการคลัง
01140305บรรยาย, ฝึกปฏิบัติน.ส.ณัฐญา ประไพพานิช
13 11 พ.ย. 2558 บทที่ 8 การจ้างงานและการว่างงาน
- ความหมายของการจ้างงาน
- ความหมายของการจ้างงานเต็มที่
- ทฤษฎีการจ้างงานของนักเศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิก
- ทฤษฎีการจ้างงานของเคนส์
- ประเภทของการว่างงาน
- ผลกระทบของการว่างงาน
- การแก้ไขปัญหาการว่างงาน
01140305บรรยาย, ฝึกปฏิบัติน.ส.ณัฐญา ประไพพานิช
14 18 พ.ย. 2558 บทที่ 9 เงินเฟ้อ เงินฝืด
- ความหมาย และชนิดของเงินเฟ้อ
- ดัชนีราคาและอัตราเงินเฟ้อ
- สาเหตุของเงินเฟ้อ
- ผลกระทบของเงินเฟ้อ
- การแก้ไขปัญหาเงินเฟ้อ
- ความหมายของเงินฝืด
- สาเหตุและผลกระทบของเงินฝืด
- การแก้ไขปัญหาเงินฝืด
01140305บรรยาย, ฝึกปฏิบัติ, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองน.ส.ณัฐญา ประไพพานิช มอบหมายงาน
15 25 พ.ย. 2558 บทที่10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
- แนวคิดเกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
- นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
นโยบายการค้าเสรี
นโยบายการค้าคุ้มกัน
- มาตรการของนโยบายการค้าคุ้มกัน
- ดุลการชำระเงิน
- การแก้ไขดุลการชำระเงินขาดดุล
01140305บรรยาย, ฝึกปฏิบัติน.ส.ณัฐญา ประไพพานิช
16 9 ธ.ค. 2558 บทที่ 5-10 01140305สอบปลายภาคน.ส.ณัฐญา ประไพพานิช
  
 
หมายเหตุการเปลี่ยนแปลง
-