ประมวลการสอนรายวิชา
ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์
รหัสวิชา HI341 ชื่อวิชา MODERN SOUTH ASIAN HISTORY จำนวนหน่วยกิต 3
ภาคการศึกษาที่ 1/2558
รหัสวิชา | HI341 |
ชื่อวิชาภาษาไทย | ประวัติศาสตร์เอเชียใต้สมัยใหม่ |
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ | MODERN SOUTH ASIAN HISTORY |
ตอนที่ | B02 |
ระดับ | ปริญญาตรี |
คำอธิบายรายวิชา | ||||||||||||
ศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศต่างๆ ในเอเชียใต้ ตั้งแต่การต่อสู้เพื่อเอกราชของอินเดีย การแบ่งแยกเป็นประเทศปากีสถาน และบังคลาเทศ ภูมิหลังและปัญหาความขัดแย้งภายในประเทศศรีลังกา ตลอดจนความสำคัญและบทบาทของเอเชียใต้ในโลกปัจจุบัน | ||||||||||||
|
||||||||||||
|
||||||||||||
วัตถุประสงค์ | ||||||||||||
1. เพื่อศึกษาภูมิหลังของภูมิภาคเอเชียใต้ ด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมตั้งแต่อดีตจนถึงการเข้ามามีอำนาจของอังกฤษ 2. เพื่อศึกษาอินเดียภายใต้การปกครองของอังกฤษ การเปลี่ยนแปลง และการปรับปรุงอินเดีย 3. เพื่อศึกษาเรื่องการต่อสู้เพื่อเอกราชของอินเดีย 4. เพื่อศึกษาเรื่องการแบ่งแยกอินเดียเป็นประเทศปากีสถานและบังคลาเทศ 5. เพื่อศึกษาภูมิหลังและปัญหาความขัดแย้งภายในประเทศศรีลังกา 6. เพื่อศึกษาความสำคัญและบทบาทของเอเชียใต้ในปัจจุบัน |
||||||||||||
การประเมินผลการเรียน | ||||||||||||
1. นำเสนอรายงานในชั้นเรียน/รายงานกลุ่มแต่ละคาบ 45 เปอร์เซนต์ 2. การสอบกลางภาค 20 เปอร์เซนต์ 3. การสอบปลายภาค 20 เปอร์เซนต์ 4. การเข้าชั้นเรียน 5 เปอร์เซนต์ 5. การสังเกต/การทำรายงานกลุ่ม 10 เปอร์เซนต์ |
||||||||||||
เกณฑ์การพิจารณาตัดเกรด | ||||||||||||
คะแนน เกรด 100-80 A 79-75 B+ 74-70 B 69-65 C+ 64-60 C 59-55 D+ 54-50 D 49-00 E |
||||||||||||
เอกสารและสื่อที่ใช้ประกอบการสอน | ||||||||||||
1. ผาสุข อินทราวุธ (2523). ประวัติศาสตร์อินเดียโบราณ. กรุงเทพฯ : ภาควิชาโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2. เชาวลี จงประเสริฐ (2528). ประวัติศาสตร์อินเดีย. กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตร์ มศว ประสานมิตร. 3. ดนัย ไชยโยธา (2536). มนุษย์กับอารยธรรมในเอเชียใต้ เล่ม 1-2. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 4. ประภัสสร บุญประเสริฐ. ประวัติศาสตร์เอเชียใต้. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 5. เพ็ชรี สุมิตร. ประวัติอารยธรรมอินเดีย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 6. คานธี, มหาตมะ. (2513). ชีวประวัติของข้าพเจ้า. กรุงเทพฯ :กมลากร. 7. เนห์รู, ยวาหระลาล. พบถิ่นอินเดีย. แปลโดย กรุณา กุศลาสัย. 8. ภารดี มหาขันธ์. ประวัติศาสตร์เอเชียใต้. ชลบุรี : มศว บางแสน. 9. จำนงค์ ทองประเสริฐ. (2510) พระพุทธศาสนาในลังกา. พระนคร: เลี่ยงเซี่ยงจงเจริญ. 10. ปิยนาถ(นิโครธา) บุนนาค. (2534)ประวัติศาสตร์และอารยธรรมของศรีลังกาสมัยโบราณถึงก่อนสมัยอาณานิคมและความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมระหว่างศรีลังกากับไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 11. ดำรงราชานุภาพ,สมเด็จฯกรมพระยา. (2546) เรื่องประดิษฐานพระสงฆ์สยามวงศ์ในลังกาทวีป. มูลนิธิสมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพและหม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล พระธิดา ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จัดพิมพ์ร่วมกับ สำนักพิมพ์มติชน. กรุงเทพฯ : มติชน. 12. มหาวงส์ พงษาวดารลังกา เล่ม 1. ม.ป.ท. : ม.ป.ป. 13. Majumdar, R.C. Raychaudihuri. H.C. and Dutta, Kalikinkar. (1967) An Advanced History of India. New York : St. Mary Press. 14. Basham, A.I. (1979). The Wonder that was India. London : Sidgwick & Jackson. 15. Bose, Sukata and Ayesha, Jutal. (1998). Modern South Asia. London: Routledge. 16. Brown, Judith M. (1990). Modern India: The Origins and Asian Democracy. Oxford University. 17. Rothermand, Dietman. (1998). An Economic History of Indian from Pre- Colonial Time to 1991. Routledge. |
||||||||||||
Course Online | ||||||||||||
- |