ประมวลการสอนรายวิชา

ภาควิชาบริหารธุรกิจ คณะสังคมศาสตร์

รหัสวิชา ACC231 ชื่อวิชา COST ACCOUNTING I  จำนวนหน่วยกิต 3 

ภาคการศึกษาที่ 2/2556


           ข้อมูลเกี่ยวกับวิชา

รหัสวิชา ACC231
ชื่อวิชาภาษาไทย การบัญชีต้นทุน 1
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ COST ACCOUNTING I
ตอนที่ B02
ระดับ ปริญญาตรี

คำอธิบายรายวิชา
ความสำคัญและบทบาทการบัญชีต้นทุนในองค์กรธุรกิจ ความหมายของต้นทุนต่างๆ ระบบบัญชีที่ใช้บันทึกต้นทุน วิธีการบัญชีและการควบคุม วัตถุดิบ แรงงาน ค่าใช้จ่ายการผลิต ระบบบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ ระบบต้นทุนช่วงการผลิต ระบบต้นทุนมาตรฐาน การบัญชีต้นทุนผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้ของเสีย ของสิ้นเปลือง งานที่บกพร่อง เศษชาก และต้นทุนฐานกิจกรรม

ผู้สอน
  ชื่อ-สกุล อีเมล์ เวลานิสิตเข้าพบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัทราพร จิตสร้างบุญsuwanee@swu.ac.th
 
ห้องเรียน  -  เวลาเรียน:
01140703 จ. 08:30-12:20

วัตถุประสงค์
1. นักศึกษาสามารถอธิบายแนวคิด และกระบวนการของหลักบัญชีต้นทุน
2. ผู้เรียนเข้าใจปัจจัยที่เป็นองค์ประกอบของต้นทุน คือ วัตถุดิบ ค่าแรงและค่าใช้จ่ายการผลิต
3. ผู้เรียนสามารถอธิบาย บันทึก และจัดทำรายงานการผลิตในระบบบัญชีต้นทุนงานได้
4. ผู้เรียนสามารถอธิบายเกี่ยวกับเศษวัสดุ สินค้าเสีย และสินค้ามีตำหนิ
5. ผู้เรียนสามารถบันทึก และจัดทำรายงานการผลิตระบบบัญชีต้นทุนช่วงได้
6. ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ร่วม และผลิตพลอยได้
7. ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ผลต่างจากระบบบัญชีต้นทุนมาตรฐานได้
8. ผู้เรียนสามารถสรุปแนวความคิดและหลักการเพื่อนำไปใช้ในการวางแผน การวิเคราะห์ การตัดสินใจ และแก้ไขปัญหาในการทำงานในอนาคต
 
การประเมินผลการเรียน
คะแนนเก็บ 20
คะแนนสอบกลางภาค 40
คะแนนสอบปลายภาค 40
รวม 100

เกณฑ์การพิจารณาตัดเกรด
A 80-100
B+ 79-75
B 74-70
C+ 69-65
C 64-60
D+ 59-55
D 54-50
F 49-0

เอกสารและสื่อที่ใช้ประกอบการสอน
สมนึก เอื้อจิระพงศ์พันธ์ , สำนักพิมพ์แมคกรอฮิล
กิ่งกนก พิทยานุคุณและคณะ, การบัญชีต้นทุน. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ, พ.ศ. 2540
ดวงมณี โกมารทัต. การบัญชีต้นทุน. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ, พ.ศ. 2543
อรวรรณ กิจปราชญ์, การบัญชีต้นทุน 1. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. กรุงเทพฯ. พ.ศ. 2547

Course Online
-

ตารางการเรียนการสอน
ครั้งที่
วันที่
หัวข้อ
ห้องเรียน
วิธีการสอน
ผู้สอน
หมายเหตุ
1 28 ต.ค. 2556 แนะนำวิชา โดยอธิบายวิธีการเรียนการสอนแบบละเอียด แนะนำตำราประกอบการสอน สอนวิธีการค้นคว้าเพิ่มเติม 01140703บรรยายผศ.ภัทราพร จิตสร้างบุญ
2 4 พ.ย. 2556 บทที่ 1 แนวคิดและความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
1.1 วัตถุประสงค์ของบัญชีต้นทุน
1.2 ความสัมพันธ์ของบัญชีการเงิน บัญชีต้นทุนและบัญชีบริหาร
1.3 หน้าที่ของฝ่ายบริหารในองค์กร
1.4 การจัดโครงสร้างองค์กรในธุรกิจอุตสาหกรรมการผลิต
1.5 การวางแผนและควบคุมโดยใช้ข้อมูลทางด้านต้นทุน
1.6 ความหมายและการจำแนกประเภทของต้นทุน
1.7 สถาบันทางวิชาชีพที่มีบทบาทต่อการพัฒนาข้อมูลทางบัญชีต้นทุน
1.8 การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาในหลักการบัญชีต้นทุน
1.9 คำศัพท์ที่ควรทราบ
01140703บรรยายผศ.ภัทราพร จิตสร้างบุญ
3 11 พ.ย. 2556 บทที่ 2 แนวคิดเกี่ยวกับต้นทุนและการจำแนกประเภทต้นทุน
2.1 ความหมายของต้นทุน และค่าใช้จ่าย
2.2 วัตถุประสงค์ในการใช้ต้นทุน
2.3 การจำแนกประเภทต้นทุน
2.4 คำศัพท์ที่ควรทราบ
01140703บรรยายผศ.ภัทราพร จิตสร้างบุญ
4 18 พ.ย. 2556 บทที่ 11 การบัญชีต้นทุนมาตรฐาน (Standard Costing)
11.1 การกำหนดต้นทุนมาตรฐาน
11.2 การวิเคราะห์ผลต่าง
11.3 การบันทึกบัญชีในระบบต้นทุนมาตรฐาน
11.4 คำศัพท์ที่ควรทราบ

01140703บรรยายผศ.ภัทราพร จิตสร้างบุญ
5 25 พ.ย. 2556 บทที่ 3 ระบบบัญชีต้นทุนและการจัดทำงบการเงิน
3.1 ระบบบัญชีต้นทุน
3.2 ระบบการสะสมต้นทุน
3.3 ระบบการสะสมต้นทุนแบบสิ้นงวด (Periodic Cost Accumulation System)
3.4 ระบบการสะสมต้นทุนแบบต่อเนื่อง (Perpetual Cost System)
3.5 ลักษณะของกระบวนการผลิต
3.6 ระบบต้นทุนงานสั่งทำ (Job Order Cost System)
01140703บรรยายผศ.ภัทราพร จิตสร้างบุญ
6 2 ธ.ค. 2556 บทที่ 4 การบัญชีต้นทุนวัตถุดิบ
4.1 การบัญชีและคำนวณต้นทุนของวัตถุดิบ
4.2 การจัดซื้อวัตถุดิบ
4.3 การเบิกวัตถุดิบ
4.4 การคำนวณต้นทุนวัตถุดิบใช้ไป และการตีราคาวัตถุดิบคงเหลือ
4.5 การคิดต้นทุนวัตถุดิบคงเหลือตามราคาตลาดหรือราคาทุนที่ต่ำกว่า
4.6 การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับวัตถุดิบเมื่อวัตถุดิบที่มีอยู่จริงสูงกว่าหรือต่ำกว่าราคาตามบัญชี
4.7 การวางแผนและควบคุมเกี่ยวกับวัตถุดิบ
4.8 คำศัพท์ที่ควรทราบ
01140703บรรยายผศ.ภัทราพร จิตสร้างบุญ
7 9 ธ.ค. 2556 บทที่ 5 การบัญชีต้นทุนค่าแรงงาน
5.1 ลักษณะของค่าแรงงาน
5.2 การจัดเก็บเวลาการทำงาน
5.3 การคำนวณและจำแนกประเภทค่าแรงงาน
5.4 การคำนวณค่าแรงงาน
5.5 การจ่ายค่าแรงงาน
5.6 การบัญชีเกี่ยวกับค่าแรงงาน
5.7 การจ่ายค่าแรงงานในรูปผลตอบแทนและสวัสดิการอื่น ๆ
5.8 คำศัพท์ที่ควรทราบ
01140703บรรยายผศ.ภัทราพร จิตสร้างบุญ
8 16 ธ.ค. 2556 บทที่ 6 การบัญชีเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายการผลิต
6.1 ลักษณะพฤติกรรมของค่าใช้จ่ายการผลิต
6.2 ค่าใช้จ่ายการผลิตในวิธีต้นทุนจริง (Actual Costing) และวิธีต้นทุนปกติ (Normal Costing)
6.3 การประมาณระดับการผลิต
6.4 การประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต
6.5 การกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร
6.6 การจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตเป็นต้นทุนการผลิต
01140703บรรยายผศ.ภัทราพร จิตสร้างบุญ
9 23 ธ.ค. 2556 สอบกลางภาค 01140703สอบกลางภาคผศ.ภัทราพร จิตสร้างบุญ
10 30 ธ.ค. 2556 บทที่ 7 การบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ (Job Order Costing)
7.1 สรุปการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับวัตถุดิบ ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายการผลิต
7.2 ระบบบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ
7.3 การบันทึกบัญชีตามระบบต้นทุนงานสั่งทำ (กรณีมีแผนกผลิตเดียว)
7.4 การบันทึกบัญชีตามระบบต้นทุนงานสั่งทำ (กรณีมีแผนกผลิต 2 แผนก)
7.5 การบัญชีเกี่ยวกับของเสีย ของมีตำหนิ เศษซากวัตถุดิบ และวัตถุดิบสิ้นเปลือง
7.6 บัญชีแยกประเภทโรงงาน
7.7 คำศัพท์ที่ควรทราบ
01140703บรรยายผศ.ภัทราพร จิตสร้างบุญ
11 6 ม.ค. 2557 บทที่ 8 การบัญชีต้นทุนกระบวนการ (Process Costing)
8.1 ลักษณะของการบัญชีต้นทุนกระบวนการ
8.2 การเปรียบเทียบระบบการสะสมต้นทุนระหว่างต้นทุนงานสั่งทำและต้นทุนกระบวนการ
8.3 ระบบการสะสมต้นทุนในการผลิตแบบกระบวนการ
8.4 รายงานต้นทุนการผลิต8.5 การเพิ่มวัตถุดิบในกระบวนการผลิต
8.6 คำศัพท์ที่ควรทราบ
01140703บรรยายผศ.ภัทราพร จิตสร้างบุญ
12 13 ม.ค. 2557 บทที่ 9 การบัญชีต้นทุนกระบวนการ (ต่อ)
9.1 รายงานต้นทุนการผลิต กรณีที่มีงานระหว่างผลิตต้นงวด
9.2 วิธีการคำนวณต้นทุนการผลิตแบบถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (Weighted Average Costing)
9.3 วิธีการคำนวณต้นทุนการผลิตแบบเข้าก่อน - ออกก่อน (FIFO Costing)
9.5 คำศัพท์ที่ควรทราบ
01140703บรรยายผศ.ภัทราพร จิตสร้างบุญ
13 20 ม.ค. 2557 ทที่ 10 เศษวัสดุ สินค้าเสีย และสินค้ามีตำหนิ
10.1 ความหมายของเศษวัสดุ สินค้าเสีย และสินค้ามีตำหนิ
10.2 วิธีการบัญชีเกี่ยวกับเศษวัสดุ
10.3 วิธีการบัญชีเกี่ยวกับสินค้าเสีย
10.4 วิธีการบัญชีเกี่ยวกับการแก้ไขสินค้ามีตำหนิหรือด้อยคุณภาพ
10.5 คำศัพท์ที่ควรทราบ
01140703บรรยายผศ.ภัทราพร จิตสร้างบุญ
14 27 ม.ค. 2557 บทที่ 12 การบัญชีและการตัดสินใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้
12.1 ลักษณะโดยทั่วไปของผลิตภัณฑ์ร่วม
12.2 การจัดสรรต้นทุนให้แก่ผลิตภัณฑ์ร่วม
12.3 หลักเกณฑ์ในการแบ่งสรรต้นทุนร่วมให้แก่ผลิตภัณฑ์ร่วม
12.4 การประเมินราคาสินค้าคงเหลือของผลิตภัณฑ์ร่วม
12.5 ลักษณะของผลิตภัณฑ์พลอยได้เมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์หลัก
12.6 การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์พลอยได้
12.7 สรุปความแตกต่างระหว่างผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้
12.8 คำศัพท์ท้ายบทที่ควรทราบ

01140703บรรยายผศ.ภัทราพร จิตสร้างบุญ
  
 
หมายเหตุการเปลี่ยนแปลง
-