ประมวลการสอนรายวิชา

คณะเทคโนโลยีและนวัตกรรมผลิตภัณฑ์การเกษตร คณะเทคโนโลยีและนวัตกรรมผลิตภัณฑ์การเกษตร

รหัสวิชา FSN443 ชื่อวิชา SENSORY EVALUATION  จำนวนหน่วยกิต 2 

ภาคการศึกษาที่ 2/2556


           ข้อมูลเกี่ยวกับวิชา

รหัสวิชา FSN443
ชื่อวิชาภาษาไทย การประเมินผลทางประสาทสัมผัส
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ SENSORY EVALUATION
ตอนที่ B01
ระดับ ปริญญาตรี

คำอธิบายรายวิชา
คุณลักษณะทางประสาทสัมผัสและการรับรู้ทางประสาทสัมผัส ปัจจัยที่มีผลต่อการทดสอบทางประสาทสัมผัส หลักการและวิธีการวัดการตอบสนองของผู้ทดสอบทางประสาทสัมผัส ลักษณะของข้อมูล การใช้สถิติในการวิเคราะห์และแปลผลคุณภาพอาหารโดยวิธีประสาทสัมผัส

ผู้สอน
  ชื่อ-สกุล อีเมล์ เวลานิสิตเข้าพบ
อาจารย์พรรณทิพา เจริญไทยกิจphantipha@swu.ac.th
 
ห้องเรียน  -  เวลาเรียน:
01150524 จ. 11:30-12:20
01191402 จ. 13:30-16:20

วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้เรียน
1. เข้าใจหลักการของการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส
2. ทราบถึงสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมกับการทดสอบทางประสาทสัมผัส
3. รู้จักวิธี และเลือกใช้วิธีในการทดสอบทางประสาทสัมผัส และการทดสอบผู้บริโภคอย่างเหมาะสม
4. รู้จักวิธีวิเคราะห์ และประเมินผลทางสถิติของข้อมูลการทดสอบทางประสาทสัมผัส
 
การประเมินผลการเรียน
การสอบกลางภาค 30 % การสอบปลายภาค 35 %
ปฏิบัติการ 20 % รายงานกลุ่ม 15 %
การเข้าร่วมกิจกรรม และมีจริยธรรม คุณธรรมในห้องเรียน 5 %

เกณฑ์การพิจารณาตัดเกรด
คะแนนร้อยละ 80 ขึ้นไป ได้เกรด A คะแนนร้อยละ 75 - 79 ได้เกรด B+
คะแนนร้อยละ 70 - 74 ได้เกรด B คะแนนร้อยละ 65 - 69 ได้เกรด C+
คะแนนร้อยละ 60 - 64 ได้เกรด C คะแนนร้อยละ 55 - 59 ได้เกรด D+
คะแนนร้อยละ 50 - 54 ได้เกรด D+ คะแนนต่ำกว่าร้อยละ 50 ได้เกรด E

เอกสารและสื่อที่ใช้ประกอบการสอน
1. เพ็ญขวัญ ชมปรีดา. 2550. การประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสและการยอมรับของผู้บริโภค. ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ
2. สุนทรีย์ สุวรรณสิชณน์. 2550. เอกสารคำสอนประกอบวิชาการประเมินทางประสาทสัมผัสของอาหาร. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. คณะวิทยาศาสตร์. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต.
3. ปราณี อ่านเปรื่อง. 2547. หลักการวิเคราะห์อาหารด้วยประสาทสัมผัส. ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพ.
4. Gacula, M. C. 1997. Descriptive Sensory Analysis in Practice. Trumbull, Conn. Food & Nutrition on Press.
5. Lawless, Harry T. and Barbara P. Klein. 1991. Sensory Science Theory and Application in Foods. Marcel Dekker, Inc., New York.
6. Meilgaard, Morten, Gail Vance Civille, and B. Thomas Carr. 1999. Sensory Evaluation Techniques. Vol. I and II. CRC Press, Florida.
7. Moskowitz, H. R. 1983. Product Testing and Sensory Evaluation of Foods: Marketing and R&D Approaches. Food and Nutrition Press Inc., Westport.
8. Resurreccion, A. V.A. 1998. Consumer Sensory Testing for Product Development. Gaithersburg, Md.: Aspen.

Course Online
-

ตารางการเรียนการสอน
ครั้งที่
วันที่
หัวข้อ
ห้องเรียน
วิธีการสอน
ผู้สอน
หมายเหตุ
1 28 ต.ค. 2556 ความสำคัญของการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส 01150121บรรยาย, ฝึกปฏิบัติ, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.พรรณทิพา เจริญไทยกิจ ปฏิบัติการ เรื่อง ห้องทดสอบ และปัจจัยสำคัญในการเตรียมงานการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส
2 4 พ.ย. 2556 ลักษณะทางประสาทสัมผัส และวิธีการรับรู้ทางประสาทสัมผัส 01150121บรรยาย, ฝึกปฏิบัติ, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.พรรณทิพา เจริญไทยกิจ ปฏิบัติการ เรื่อง การทดสอบการรับรู้กลิ่น และรส
3 11 พ.ย. 2556 ปัจจัยที่มีผลต่อการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส 01150121บรรยาย, ฝึกปฏิบัติ, กิจกรรมกลุ่ม, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.พรรณทิพา เจริญไทยกิจ ปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมงานการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส
4 18 พ.ย. 2556 มาตรวัดการรับรู้ทางประสาทสัมผัส 01150121บรรยาย, ฝึกปฏิบัติ, กิจกรรมกลุ่ม, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.พรรณทิพา เจริญไทยกิจ อภิปรายการเตรียมงานการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส
5 25 พ.ย. 2556 การจำแนกวิธีการทดสอบทางประสาทสัมผัส 01150121บรรยาย, ฝึกปฏิบัติ, กิจกรรมกลุ่ม, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.พรรณทิพา เจริญไทยกิจ รายงานหน้าชั้นเรียน
6 2 ธ.ค. 2556 การทดสอบความแตกต่าง: วิธี Pair comparison, Duo-Trio และ Triangle test 01150121บรรยาย, ฝึกปฏิบัติ, กิจกรรมกลุ่มอ.พรรณทิพา เจริญไทยกิจ ปฏิบัติการ เรื่อง การทดสอบความแตกต่าง: Pair comparison, Duo-Trio และ Triangle test
7 9 ธ.ค. 2556 การทดสอบความแตกต่าง: วิธีการเรียงลำดับ และDifference from control 01150121บรรยาย, ฝึกปฏิบัติ, กิจกรรมกลุ่ม, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.พรรณทิพา เจริญไทยกิจ ปฏิบัติการ เรื่อง การทดสอบความแตกต่าง: Ranking และ Difference from control
8 16 ธ.ค. 2556 การทดสอบความชอบ 01150121บรรยาย, ฝึกปฏิบัติ, กิจกรรมกลุ่ม, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.พรรณทิพา เจริญไทยกิจ การอภิปรายการทดสอบความแตกต่าง
9 23 ธ.ค. 2556 สอบกลางภาค 01150121สอบกลางภาคอ.พรรณทิพา เจริญไทยกิจ
10 30 ธ.ค. 2556 การทดสอบผู้บริโภค 01150121บรรยาย, ฝึกปฏิบัติ, กิจกรรมกลุ่ม, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.พรรณทิพา เจริญไทยกิจ ปฏิบัติการ เรื่อง การทดสอบการเรียงลำดับ
11 6 ม.ค. 2557 การทดสอบเชิงพรรณนา 01150121บรรยาย, ฝึกปฏิบัติ, กิจกรรมกลุ่ม, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.พรรณทิพา เจริญไทยกิจ ปฏิบัติการ เรื่อง การทดสอบความชอบร่วมกับความเข้ม และความพอดี
12 13 ม.ค. 2557 การคัดเลือก และฝึกหัดผู้ทดสอบเชิงพรรณนา 01150121บรรยาย, ฝึกปฏิบัติ, กิจกรรมกลุ่ม, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.พรรณทิพา เจริญไทยกิจ การออกแบบสอบถาม และนำเสนอการออกแบบทดสอบผู้บริโภค
13 20 ม.ค. 2557 ความสัมพันธ์ระหว่างการวัดค่าทางตรง และทางอ้อม 01150121บรรยาย, ฝึกปฏิบัติ, กิจกรรมกลุ่ม, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.พรรณทิพา เจริญไทยกิจ ปฺฏิบัติการ เรื่อง การทดสอบเชิงพรรณนา และการพัฒนาแบบทดสอบ
14 27 ม.ค. 2557 การวิเคราะห์ผลทางสถิติ 01150121บรรยาย, ฝึกปฏิบัติ, กิจกรรมกลุ่มอ.พรรณทิพา เจริญไทยกิจ การอภิปรายการทดสอบเชิงพรรณนา
15 3 ก.พ. 2557 การใช้การทดสอบทางประสาทสัมผัสในอุตสาหกรรมอาหาร 01150121บรรยาย, ฝึกปฏิบัติ, กิจกรรมกลุ่ม, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.พรรณทิพา เจริญไทยกิจ รายงานหน้าชั้นเรียน
16 10 ก.พ. 2557 รายงานหน้าชั้นเรียน 01150121บรรยาย, กิจกรรมกลุ่ม, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.พรรณทิพา เจริญไทยกิจ รายงานหน้าชั้นเรียน
17 17 ก.พ. 2557 สอบปลายภาค 01150121สอบปลายภาคอ.พรรณทิพา เจริญไทยกิจ
  
 
หมายเหตุการเปลี่ยนแปลง
-