ประมวลการสอนรายวิชา

ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์

รหัสวิชา PO113 ชื่อวิชา INTRODUCTION TO LAW  จำนวนหน่วยกิต 3 

ภาคการศึกษาที่ 2/2556


           ข้อมูลเกี่ยวกับวิชา

รหัสวิชา PO113
ชื่อวิชาภาษาไทย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ INTRODUCTION TO LAW
ตอนที่ B03
ระดับ ปริญญาตรี

คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาลักษณะทั่วไปของกฎหมาย ประเภทกฎหมาย การจัดทำกฎหมายลายลักษณ์อักษร การใช้กฎหมาย การตีความกฎหมาย การอุดช่องว่างแห่งกฎหมาย การยกเลิกกฎหมายบุคคลธรรมดา นิติบุคคล ประเภทสิทธิ การได้สิทธิ การใช้สิทธิ การสงวนสิทธิ การคุ้มครองสิทธิ การโอนสิทธิ การเสียสิทธิ และการระงับซึ่งสิทธิ

ผู้สอน
  ชื่อ-สกุล อีเมล์ เวลานิสิตเข้าพบ
อาจารย์กัลยา แซ่อั้งkanlayas@swu.ac.th
 
ห้องเรียน  -  เวลาเรียน:
01999999 ARR -

วัตถุประสงค์
1.1 เพื่อให้นิสิตเรียนรู้และมีความเข้าใจในลักษณะทั่วไปของกฎหมาย ความสัมพันธ์โดยทั่วไประหว่างกฎหมายกับสังคม ตลอดจนให้นิสิตใช้ปัญญาเข้าใจถึงความสัมพันธ์อันเป็นองค์รวมระหว่างกฎหมาย คุณค่าทางศีลธรรม และจารีตของสังคม พร้อมทั้งมีความเข้าใจในความคิดทางกฎหมายอันเป็นรากเหง้าแห่งการบัญญัติกฎหมายต่าง ๆ
1.2 เพื่อให้นิสิตสามารถนำความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
1.3 เพื่อให้นิสิตสามารถวิเคราะห์ วิจารณ์กฎหมายในแง่มุมต่าง ๆ พร้อมทั้งสามารถประมวลความรู้ของวิชาเพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการเรียนวิชาทางด้านรัฐศาสตร์ และสังคมศาสตร์ในวิชาอื่น ๆ ต่อไป
 
การประเมินผลการเรียน
-

เกณฑ์การพิจารณาตัดเกรด
อิงเกณฑ์

เอกสารและสื่อที่ใช้ประกอบการสอน
1. กิตติศักดิ์ ปรกติ. การปฏิรูประบบกฎหมายไทยภายใต้อิทธิพลยุโรป. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน. 2546.
2. กุลพล พลวัน. “อำนาจรัฐในการตรากฎหมายเพื่อจำกัดสิทธิเสรีภาพของบุคคล”. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ. เล่มที่ 16 (มกราคม-เมษายน) 2547.
3. กำธร กำประเสริฐ. ประวัติศาสตร์กฎหมาย. กรุงเทพฯ: คุณพินอักษรกิจ. 2525.
4.เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์. สิทธิมนุษยชนและกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในประเทศไทย. สงขลา: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ สถาบันไทยคดีศึกษา. 2529.
5. ชาญชัย แสวงศักดิ์. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายปกครอง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน. 2538.
6. ชาญชัย แสวงศักดิ์. วิสัยทัศน์ การเมือง การปกครอง และกฎหมาย. กรุงเทพฯ: นิติธรรม. 2539.
7. ชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์. “ความเป็นจริงกับหลักการแบ่งแยกอำนาจ”. วารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 2 ตอน 2. 2526.
8. เชาวนะ ไตรมาศ. “ศาลรัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐ”. วารสารศาลรัฐธรรมนฆูญ เล่มที่ 16 (มกราคม-เมษายน) 2547.
9. ธานินท์ กรัยวิเชียร. การปฏิรูประบบกฎหมายและการศาล. คณะกรรมการจัดงานฉลองวันเถลิงถวัลย์ราชสมบัติครบ 100 ปี. กระทรวงยุติธรรม. 2511.
10. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. คำอธิบายกฎหมายมหาชน (เล่ม 2) การแบ่งแยกกฎหมายมหาชน การพิจารณากฎหมายมหาชนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์นิติธรรม. 2537.
11. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. กฎหมายมหาชน เล่ม 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์นิติธรรม. 2538.
12. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. เอกสารการสอนชุดวิชาระบบกฎหมายไทยและต่างประเทศ หน่วยที่ 1-7. กรุงเทพฯ: สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. มปป.
13. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. เอกสารการสอนชุดวิชาระบบกฎหมายไทยและต่างประเทศ หน่วยที่ 2 สกุลกฎหมายโรมาโน-เยอรมันนิค. กรุงเทพฯ: สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
14. ปัญญา อุดชเชน. “วุฒิสภากับการปฏิรูปการเมืองตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน”. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ. เล่มที่ 16 (มกราคม-เมษายน) 2547.
15. วิษณุ เครืองาม. กฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์นิติบรรณาการ. 2530.
16. วิษณุ เครืองาม. เอกสารการสอนชุดวิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป หน่วยที่ 5 สิทธิและการกระทำ. กรุงเทพฯ: สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2531.
17. วิษณุ เครืองาม. เอกสารประกอบการสอนชุดวิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป หน่วยที่ 1. ความหมาย ลักษณะ และโครงร่างของกฎหมาย. กรุงเทพฯ: สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2531.
18. สมยศ เชื้อไทย. ความรู้นิติปรัชญาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน. 2536.
19. อโณทัย บำรุงพงษ์. “การใช้หลักรัฐศาสตร์ควบคู่กับหลักนิติศาสตร์”. วารสารกฎหมาย. ปีที่ 14 ฉบับที่ 3 (ธันวาคม) 2536.
1.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
2. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้ง พ.ศ. 2550
3. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2550
4. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2550
5. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ พ.ศ. 2552
6. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน พ.ศ. 2552
7. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
8. ประมวลกฎหมายอาญา
9. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
10. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
11. www.geocity.com
12. www.lawonline.co.th
13. www.pub-law.net
14. www.thailandlaw9.com
15. www.thaieasylaw.com
16. www.thaijustice.com

Course Online
-

ตารางการเรียนการสอน
ครั้งที่
วันที่
หัวข้อ
ห้องเรียน
วิธีการสอน
ผู้สอน
หมายเหตุ
1 1 พ.ย. 2556 แนะนำวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอน 01110902บรรยายอ.กัลยา แซ่อั้ง ได้ปรับปรุงรายวิชาตามผลการประเมินแล้ว
2 8 พ.ย. 2556 การศึกษากฎหมายทั่วไป,ความสัมพันธ์ระหว่างวิชากฎหมายกับวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง 01110902บรรยาย, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.กัลยา แซ่อั้ง
3 15 พ.ย. 2556 ความหมายและลักษณะของกฎหมาย 01110902บรรยาย, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.กัลยา แซ่อั้ง
4 22 พ.ย. 2556 บ่อเกิดของกฎหมาย 01110902บรรยาย, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.กัลยา แซ่อั้ง
5 29 พ.ย. 2556 ขอบเขตการใช้บังคับของกฎหมาย 01110902บรรยาย, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.กัลยา แซ่อั้ง
6 6 ธ.ค. 2556 การใช้กฎหมาย 01110902บรรยาย, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.กัลยา แซ่อั้ง
7 13 ธ.ค. 2556 การตีความในกฎหมายและการอุดช่องว่างของกฎหมาย 01110902บรรยาย, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.กัลยา แซ่อั้ง
8 20 ธ.ค. 2556 ความคิดในทางกฎหมาย 01110902บรรยาย, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.กัลยา แซ่อั้ง
9 27 ธ.ค. 2556 สอบกลางภาค 01110902สอบกลางภาคอ.กัลยา แซ่อั้ง
10 3 ม.ค. 2557 ความคิดในทางกฎหมายของประเทศไทย 01110902บรรยาย, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.กัลยา แซ่อั้ง
11 10 ม.ค. 2557 การร่างกฎหมาย 01110902บรรยาย, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.กัลยา แซ่อั้ง
12 17 ม.ค. 2557 สิทธิ 01110902บรรยาย, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.กัลยา แซ่อั้ง
13 24 ม.ค. 2557 การใช้และการคุ้มครองสิทธิ 01110902บรรยาย, ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอ.กัลยา แซ่อั้ง
14 7 ก.พ. 2557 สอบปลายภาค 01110902สอบกลางภาคอ.กัลยา แซ่อั้ง
  
 
หมายเหตุการเปลี่ยนแปลง
ได้ปรับปรุงรายวิชาตามผลการประเมินแล้ว