ภาควิชาคหกรรมศาสตร์
รหัสวิชา HS201 ชื่อวิชา Home Economics Career 2(1-3)
คำอธิบายรายวิชา : ความหมาย ขอบเขต
และแนวคิดที่สำคัญของวิชาคหกรรมศาสตร์
แนวโน้มวิชาชีพคหกรรมศาสตร์ การประชาสัมพันธ์คหกรรมศาสตร์
การศึกษาเพื่อเตรียมตัวประกอบอาชีพ
จรรยาบรรณวิชาชีพ
ผู้เรียน : นิสิตปีที่ 2 วิชาเอกคหกรรมศาสตร์
จำนวน 21 คน
ผู้สอน : นางรัชนี ลาชโรจน์ ห้อง 19-1405
วิทยากรในภาควิชา : รศ.มณฑา โกเฮง, ผศ.ดร.ทัศณีวรรณ ภู่อารีย์,
อ.อุบลรัตน์
ศิลาพงษ์, รศ.จิตรพี ชวาลาวัณย์
วิทยากรนอกภาควิชา : รศ.นิยม บุญมี; คณาจารย์ภาควิชาคหกรรมศาสตร์
และภาควิชาอาชีวศึกษา มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์; ผู้แทนจากกรมส่งเสริมการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์; วิทยากรทางด้าน
ธุรกิจ SMES.
ห้องเรียน : บรรยาย ห้อง 19-1514
เวลาเรียน : วันอังคาร เวลา 11.30
15.30 น.
จุดประสงค์ : เพื่อให้ผู้เรียน 1.
อธิบายปรัชญา จุดมุ่งหมาย และขอบเขตของ
วิชาคหกรรมศาสตร์ได้
2.
จำแนกประเภทอาชีพคหกรรมศาสตร์ได้
3.
บอกแนวทางในการนำวิชาชีพคหกรรมศาสตร์ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคล
ครอบครัว สังคม ตลอดจนการเลือกและการประกอบอาชีพได้
4.
เผยแพร่วิชาคหกรรมศาสตร์ได้
เอกสารที่ใช้ประกอบการสอน
: เอกสารที่ผู้สอนเรียบเรียงประกอบการสอน
สื่อการเรียนการสอน : แผ่นโปร่งแสงประกอบการบรรยาย เอกสารประกอบการสอน
ใบงาน ฯลฯ
2
การประเมินผลการเรียน 1. การสอบข้อเขียน 65 ส่วน
2. รายงานและแบบฝึกหัด 30 ส่วน
3. การมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
5 ส่วน
(ขาดเรียนเกิน
3 ครั้ง หมดสิทธิ์สอบ
สาย 3 ครั้ง = ขาด 1 ครั้ง)
A = 85
B+ = 80-84.9
B = 75-79.9
C+ = 70-74.9
C = 65.69.9
D+ = 60-64.9
D = 55-59.9
E = 50-54.9
สัปดาห์
|
วันเวลา |
หัวข้อเรื่อง |
ผู้สอน (จำนวนชั่วโมง) |
1 |
1 มิย. |
ปฐมนิเทศ : ปัญหาการดำเนินชีวิต |
ผศ.รัชนี/กิจกรรม |
2 |
8 มิย. |
ความหมาย
ปรัชญา จุดมุ่งหมาย และการใช้ประโยชน์ |
ผศ.รัชนี ลาชโรจน์ |
3 |
15 มิย. |
ขอบเขต : พัฒนาการมนุษย์และครอบครัว |
ผศ.รัชนี |
4 |
22 มิย. |
ขอบเขต : อาหารและโภชนาการ, สิ่งทอและ เครื่องแต่งกาย |
ผศ.ดร.ทัศณีวรรณ ภู่อารีย์ รศ.มณฑา โกเฮง รศ..จิตรพี ชวาลาวัณย์ |
5 |
29 มิย. |
ขอบเขต : การพัฒนาที่อยู่อาศัย,
ศิลปสัมพันธ์ คหกรรมศาสตร์ศึกษา |
อ.อุบลรัตน์ ศิลาพงษ์ |
6 |
6 กค. |
ขอบเขต : การจัดการทรัพยากรครอบครัวและชุมชน |
รศ.นิยม บุญมี |
7 |
13 กค. |
แนวโน้มของคหกรรมศาสตร์ในประเทศ และโลก คุณสมบัติ และจรรยาบรรณของนักคหกรรมศาสตร์ |
ผศ.รัชนี ลาชโรจน์ |
8 |
20 กค. |
อาชีพคหกรรมศาสตร์ ความสำคัญของงาน พัฒนาการทางอาชีพ |
ผศ.รัชนี ลาชโรจน์ |
9 |
27 กค. |
ปัจจัยส่งเสริมการประกอบอาชีพ
: หลักสูตรสมาคมวิชาชีพ
ฯลฯ |
ผศ.รัชนี ลาชโรจน์ |
10 |
3 สค. |
การเตรียมตัวเข้าสู่ธุรกิจคหกรรมศาสตร์ |
วิทยากร |
11 |
4-18 สค. |
สอบกลางภาคเรียน
(ทุกหัวข้อที่เรียนแล้ว) |
นัดวันสอบ |
12 |
24 สค. |
ทัศนศึกษา : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
ผศ.รัชนี/วิทยากร
(ทั้งวัน) |
13 |
31 สค. |
การประชาสัมพันธ์คหกรรมศาสตร์ |
กิจกรรมของนิสิต |
14 |
7 กย. |
ทัศนศึกษา : คหกรรมศาสตร์
พัฒนาชีวิต และเศรษฐกิจพอเพียง |
กองส่งเสริมการเกษตร
กระทรวงเกษตรฯ |
15 |
14 กย. |
วิทยาการผู้บริโภคกับการคุ้มครองผู้บริโภค |
ผศ.รัชนี / วิทยากร |
16 |
21 กย. |
ความถนัดและความสนใจ
(กิจกรรม) |
ผศ.รัชนี / นิสิต |
17 |
27 กย.
10 ตค. |
สอบปลายภาคเรียน
(ทุกหัวข้อที่เรียน) |
นัดวันสอบ |
หมายเหตุ : วัน เวลา หัวข้อเรื่อง
และกิจกรรมอาจมีการเปลี่ยนแปลง
หนังสืออ่านประกอบ : เอกสารที่ผู้สอนเรียบเรียงประกอบการสอน
และ
1.
ทวีรัสมิ์ ธนาคม.
คหกรรมศาสตร์ในประเทศไทย. พ.ศ.2543. เอกสารอัดสำเนา.
2.
อุไร ตันสกุล.
โลกทัศน์วิชาชีพคหกรรมศาสตร์. มหาวิทยลัยสงขลานครินทร์,
พ.ศ.2544
3.
วารสารคหเศรษฐศาสตร์
และเอกสารประกอบในสังเขปรายวิชา
1.
ชื่อรายวิชา :
คส 201 วิชาชีพคหกรรมศาสตร์
HS 201 Home Economics Career
2.
จำนวนหน่วยกิต : 2(1-3)
3.
จุดมุ่งหมาย เพื่อให้ผู้เรียน
3.1
อธิบายปรัชญา จุดมุ่งหมาย และขอบเขตของวิชาคหกรรมศาสตร์ได้
3.2
จำแนกประเภทอาชีพคหกรรมศาสตร์ได้
3.3
บอกแนวทางในการนำวิชาชีพคหกรรมศาสตร์ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคล
ครอบครัว สังคม ตลอดจนการเลือกและการประกอบอาชีพได้
3.4
เผยแพร่วิชาคหกรรมศาสตร์ได้
4.
คำอธิบายรายวิชา
ความหมาย ขอบเขต และแนวความคิดที่สำคัญของวิชาคหกรรมศาสตร์ แนวโน้ม
วิชาชีพคหกรรมศาสตร์
การประชาสัมพันธ์คหกรรมศาสตร์
การศึกษาเพื่อเตรียมตัวประกอบ
อาชีพจรรยาบรรณวิชาชีพ
5.
สังเขปรายวิชา
5.1
ความรู้พื้นฐานทางคหกรรมศาสตร์
5.1.1
ความหมาย ปรัชญา และจุดมุ่งหมายของคหกรรมศาสตร์
5.1.2
บทบาทและความสำคัญของคหกรรมศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต
และสิ่งแวดล้อม :
ระดับจุลภาคและมหภาค
5.1.3
แนวโน้มของวิชาคหกรรมศาสตร์ของไทยและโลก
5.1.4
คุณสมบัติของนักคหกรรมศาสตร์
5.2
ขอบเขตและแนวคิดสำคัญของวิชาคหกรรมศาสตร์
5.2.1
พัฒนาการครอบครัวและมนุษย์
5.2.2
การจัดการทรัพยากรครอบครัวและชุมชน
5.2.3
อาหารและโภชนาการ
5.2.4
การพัฒนาที่อยู่อาศัยและเครื่องเรือนเครื่องใช้
5.2.5
สิ่งทอและการแต่งกาย
5.2.6
คหกรรมศาสตร์ศึกษา
5.2.7
ศิลปสัมพันธ์
2
5.3
คุณค่าของคหกรรมศาสตร์กับการประกอบอาชีพ
5.3.1
คุณค่าและความสำคัญของงานหรืออาชีพ
5.3.2
ประเภทของอาชีพคหกรรมศาสตร์
(1)
ศิลปและวิทยาศาสตร์
(2)
ธุรกิจ
(3)
การศึกษาและเผยแพร่
(4)
บริการสังคม
(5)
หน่วยราชการและรัฐวิสาหกิจ
(6)
อื่น ๆ
5.3.3
จรรยาบรรณวิชาชีพคหกรรมศาสตร์
5.3.4
พัฒนาการทางอาชีพและทฤษฎีการเลือกอาชีพ
5.3.5
การศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพ
5.3.6
การสำรวจความสนใจและความถนัด
5.3.7
การสมัครงาน
5.5 การประกอบอาชีพคหกรรมศาสตร์
5.5.1
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการประกอบอาชีพคหกรรมศาสตร์
5.5.2
ศักยภาพในการปฏิบัติงาน
5.5.3
การเปลี่ยนงาน
5.6 การประชาสัมพันธ์วิชาชีพคหกรรมศาสตร์
5.6.1 ความหมายและความสำคัญของการประชาสัมพันธ์
5.6.2 หลักการและยุทธวิธีการประชาสัมพันธ์วิชาคหกรรมศาสตร์
6.
แนวการเรียนการสอน
6.1
การบรรยาย อภิปราย
6.2
การศึกษาด้วยตนเอง และการศึกษานอกสถานที่
6.3
การวิเคราะห์ความถนัดและความสนใจของนิสิต
6.4
การแสดงผลงานหรือประชาสัมพันธ์คหกรรมศาสตร์ในรูปแบบต่าง
ๆ
7.
การประเมินผล
7.1
การสอบข้อเขียนและภาคปฏิบัติ
7.2
ผลงานจากการศึกษาค้นคว้า และการแสดงผลงาน
3
8.
อุปกรณ์การสอน
8.1
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
8.2
วิดิทัศน์
8.3
แบบฝึกหัด และการศึกษานอกสถานที่
9.
บุคลากร
10. คณาจารย์ของภาควิชาฯ วิทยากร
ผู้ทรงคุณวุฒิ
4
11. เอกสารประกอบ
11.1 Blankenship, M.L. and Moerchen, B.D. Home Economics
Education. Boston :
Houghton Mifflin Company, 1979.
11.2 Kendall,
E.L. and Spioles, G.B. Professional
Development in Home Economics
Careers Serving Families
and Consumers . New York :
Macmillan Publishing
Company, 1987.
11.3 Parker,
F.J. Home Economics : An Introduction
to a Dynamic Profession.
New York : Macmillan Publishing Company,
1987.
11.4 สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย
เอกสารการสอนชุดวิชาคหกรรมศาสตร์ทั่วไป
11.5 สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย
เอกสารการสอนชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพ
คหกรรมศาสตร์, 2531.
11.6 ชวนชม จันทระเปารยะ, ความเป็นมาของภาควิชาคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารคหเศรษฐศาสตร์ ปีที่ 30 ฉบับที่ 1
พฤษภาคม, 2530.
11.7 ทวีรัสม์
ธนาคม, ความเป็นมาของคหกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริกา
,
วารสาร คหเศรษฐศาสตร์ปีที่ 27
ฉบับที่ 27 ฉบับที่ 3 กันยายน, 2526.
11.8 นิยม บุญมี หลักสูตรและการสอนคหกรรมศาสตร์
. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
มหาสารคาม, 2530.
11.9 พิณทิพย์ บริบูรณ์สุข. ปฐมนิเทศคหกรรมศาสตร์ แนะนำคหกรรมศาสตร์.
โรงพิมพ์เจริญผล,
2527.
10.10 อมรรัตน์ เจริญชัย และคณะ, คู่มือพัฒนากร : งานคหกรรมศาสตร์สอดแทรก
ประชากร
และการวางแผนครอบครัว. มังกรการพิมพ์และโฆษณา
กรุงเทพฯ, 2526.
10.11
อมรรัตน์ เจริญชัย. คหกรรมศาสตร์กับการพัฒนาคุณภาพชีวิต. เอกสารประกอบการ