เค้าโครงการเรียนการสอน
คณะเภสัชศาสตร์  คณะเภสัชศาสตร์
รหัสวิชา: PSP505 ชื่อวิชา: PHARMACY LAWS AND ETHICS จำนวน 2 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาที่ 1/2547

รายละเอียดเกี่ยวกับวิชา
รหัสวิชา PSP505
ชื่อวิชาภาษาไทย นิติเภสัชศาสตร์และจริยธรรม
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ PHARMACY LAWS AND ETHICS
ตอนที่ B01

คำอธิบายรายวิชา
พระราชบัญญัติ กฎ ระเบียบ และข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม การคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของผู้บริโภคทางด้านสาธารณสุข กฎหมายสิทธิบัตร (ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ยา) สิทธิ หน้าที่และ
ความรับผิดชอบของเภสัชกรตามกฎหมายโดยเน้นจริยธรรมในการประกอบวิชาชีพเป็นพิเศษ


ผู้สอน
พรรณนิภา อกนิษฐาภิชาติ Email: pannipa@swu.ac.th ห้องพัก: ห้อง 603
  Office Hour: 8.30-16.30 Phone: 026641000 ต่อ 1672
ภก.วินิต อัศวกิจวิรี Email:  ห้องพัก: 
  Office Hour:  Phone: 
อ.เดือนเพ็ญ ภิญโญนิธิเกษม Email:  ห้องพัก: 
  Office Hour:  Phone: 
ภก.มรกต ประภัสศิริพันธุ์ Email:  ห้องพัก: 
  Office Hour:  Phone: 
ภญ.พรพรรณ สุนทรธรรม Email:  ห้องพัก: 
  Office Hour:  Phone: 
ภก.วิสุทธิ์ สุริยภิวัฒน์ Email:  ห้องพัก: 
  Office Hour:  Phone: 
ภก.อ.พตท.ดร.นภดล ทองนพเนื้อ Email:  ห้องพัก: 
  Office Hour:  Phone: 

ห้องเรียน:  02-25-0306, , เวลาเรียน:  M1-2

วัตถุประสงค์
เพื่อให้นิสิตได้รับความรู้เกี่ยวกับ
1) การควบคุมทางสังคมและหลักกฎหมายทั่วไป
2) สาระสำคัญ บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของเภสัชกร ตลอดจนตัวอย่างของการกระทำฝ่าฝืนและการดำเนินการตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ วิชาชีพเภสัชกรรม การดำเนินธุรกิจ และอื่นๆ
3) แนวทางปฎิบัติและจรรยาในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม

การประเมินผลการเรียน
1) การสอบข้อเขียนในส่วนของเนื้อหาการบรรยายและทำงานที่อาจารย์มอบหมาย (ถ้ามี) (13x6%) 78%
2) การทำงานในชั้นเรียน (14x1%) 14%
3) กรณีศึกษา 8%

เกณฑ์การพิจารณาตัดเกรด
ผลการประเมินจะเป็นระบบค่าระดับขั้น (A, B, C, D และ E) โดยใช้เกณฑ์แบบอิงกลุ่ม

เอกสารที่ใช้ประกอบการสอน
1) ขบวน พลตรี. มนุษย์กับสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2537.
2) คณาจารย์ภาควิชาสังคมวิทยาฯ. สังคมและวัฒนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.
3) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. มนุษย์กับสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 11. นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2530.
4) วัชรา คลายนาทร. สังคมวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : บริษัทโรงพิมพ์วัฒนาพานิช, 2530.
5) สุพัตรา สุภาพ. สังคมวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพฯ : บริษัทโรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช, 2537.
6) กลุ่มนิติการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. รวมกฎหมายอาหารและยา. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด, 2537.
7) ธวัชชัย สัตยสมบูรณ์ (บรรณาธิการ). กฎหมายสาธารณสุข. กรุงเทพฯ : บริษัทประชุมช่างจำกัด, 2542.
8) ธีระ ศรีธรรมรักษ์. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2540.
9) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 18. นนทบุรี :
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2535.
10) ยุทธนา พูนทอง. กฎหมายกับชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 1. พระนครศรีอยุธยา : สำนักพิมพ์นิติยุทธ์, 2535.
11) สุนทร มณีสวัสดิ์, สงวน สุทธิเลิศอรุณ และฐิติพงษ์ ธรรมานุสรณ์. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
กฎหมายทั่วไป. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดทิพยวิสุทธิ์, 2543.
12) สุนทรี ท.ชัยสัมฤทธิ์โชค และคณะ (บรรณาธิการ). ประมวลกฎหมายสำหรับเภสัชกร. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.
13) สุวงศ์ ศาสตรวาหา และ สุรชาติ ณ หนองคาย. กฎหมายสาธารณสุข. กรุงเทพฯ : เจ้าพระยาการพิมพ์, 2533.

กำหนดการเรียนการสอน
 
สัปดาห์ วันที่ หัวข้อ หมายเหตุ
จ 7 มิย. 47  ความสำคัญและความเชื่อมโยงของกระบวนการควบคุมทางสังคม ภญ.อ.ดร.พรรณนิภา อกนิษฐาภิชาติ
จ 14 มิย. 47  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป ภญ.อ.ดร.พรรณนิภา อกนิษฐาภิชาติ
จ 21 มิย. 47  หลักการทั่วไปในการนำมาตรการทางกฎหมายไปใช้ในการควบคุมผลิตภัณฑ์สุขภาพ, ประเภทของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ, ความคล้ายคลึงและความแตกต่างของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ ภก.วินิต อัศวกิจวิรี
จ 28 มิย. 47  พรบ.ยา พรบ.ยาเสพติดให้โทษ และ พรบ.วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท (สาระสำคัญและลักษณะเฉพาะ, บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของเภสัชกร) ภก.วินิต อัศวกิจวิรี
จ 5 กค. 47  พรบ.ยา พรบ.ยาเสพติดให้โทษ และ พรบ.วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท (ตัวอย่างของการกระทำฝ่าผืนและการดำเนินการตามกฎหมาย) อ.เดือนเพ็ญ ภิญโญนิธิเกษม
จ 12 กค. 47  พรบ.อาหาร (สาระสำคัญและลักษณะเฉพาะ, บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของเภสัชกร, ตัวอย่างของการกระทำฝ่าฝืนและการดำเนินการตามกฎหมาย) ภก.มรกต ประภัสศิริพันธุ์
จ 19 กค. 47  พรบ. เครื่องสำอาง (สาระสำคัญและลักษณะเฉพาะ, บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของเภสัชกร, ตัวอย่างของการกระทำฝ่าฝืนและการดำเนินการตามกฎหมาย) ภญ.พรพรรณ สุนทรธรรม
จ 26 กค. 47  การวิเคราะห์กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ
โดยใช้กรณีศึกษา
ภก.วินิต อัศวกิจวิรี, อ.เดือนเพ็ญ ภิญโญนิธิเกษม
ศ 6 สค. 47  สอบกลางภาค  
10  จ 16 สค. 47  พรบ.วิชาชีพเภสัชกรรม (หลักการทั่วไปในการควบคุมการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม หน้าที่ ความรับผิดชอบ และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ตัวอย่างของการกระทำฝ่าฝืนและการดำเนินการตามกฎหมาย) ภก.วิสุทธิ์ สุริยภิวัฒน์
11  จ 23 สค. 47  พรบ.วิชาชีพเภสัชกรรม (หลักการทั่วไปในการควบคุมการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม หน้าที่ ความรับผิดชอบ และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ตัวอย่างของการกระทำฝ่าฝืนและการดำเนินการตามกฎหมาย) ภก.วิสุทธิ์ สุริยภิวัฒน์
12  จ 30 สค. 47  กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจ ได้แก่ พรบ.ประกันสังคม พรบ.แรงงาน พรบ.ภาษีอากร (สาระสำคัญ ตัวอย่างของการกระทำฝ่าฝืนและการดำเนินการตามกฎหมาย กรณีศึกษา) ภก.วิสุทธิ์ สุริยภิวัฒน์
13  จ 6 กย. 47  กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจ ได้แก่ พรบ.ประกันสังคม พรบ.แรงงาน พรบ.ภาษีอากร (สาระสำคัญ ตัวอย่างของการกระทำฝ่าฝืนและการดำเนินการตามกฎหมาย กรณีศึกษา) ภก.วิสุทธิ์ สุริยภิวัฒน์
14  จ 13 กย. 47  กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ ได้แก่ (ร่าง)พรบ.สุขภาพแห่งชาติ พรบ.การสาธารณสุข พรบ.คุ้มครองผู้บริโภค พรบ.สถานพยาบาล ฯลฯ (สาระสำคัญ ผลต่อสาธารณชน ผู้ประกอบวิชาชีพและผู้บังคับใช้กฎหมาย) ภญ.อ.ดร.พรรณนิภา อกนิษฐาภิชาติ
15  จ 20 กย. 47  วิวัฒนาการและแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงของกฎหมาย การทำผิดกฎหมายโดยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และประเภทของการทำผิดกฎหมายที่เกี่ยวเนื่องกับวิชาชีพเภสัชกรรม ภก.อ.พตท.ดร.นภดล ทองนพเนื้อ
16  พ 29 กย. 47  สอบปลายภาค  

ปรับปรุงล่าสุด 22/6/2004 เวลา 22:18:50
This page is created by SWU Course Publisher Version 1.2
Copyright © 2002 : Department of Information System, Computer Center