ภาควิชาฟิสิกส์

รหัสวิชา PY 371   Introduction to Quantum  Mechanics

ภาคการศึกษาที่ 2/2547

 

คำอธิบายรายวิชา

 

                ความล้มเหลวของฟิสิกส์คลาสสิก และกำเนิดทฤษฎีควอนตัมแบบเก่า  กลุ่มคลื่น และหลักความไม่แน่นอน สมการของชโรดิงเจอร์   อนุภาคในบ่อพลังงานศักย์ การเคลื่อนที่ของอนุภาคทะลุกำแพงพลังงานศักย์ ฮาเมอนิกออสซิลเลเตอร์  ไฮโดรเจนอะตอม

 

ผู้เรียน   :            นิสิตระดับปริญญาตรี  กศ.บ. (เอกฟิสิกส์)  ชั้นปีที่ 3

 

ผู้สอน    :    ผศ.ดร.เฟื่องลดา   วีระสัย  ห้องทำงาน 10-510    Email Address: fuanglad@swu.ac.th

                      อ. ดร.วิชุดา   บุญยรัตกลิน ห้องทำงาน   10-515   Email Address: wichuda@swu.ac.th

 

ห้องเรียน                :                10-408

 

เวลาเรียน                :                วันพุธ   10.30-12.30 น.

                                                วันพฤหัสบดี   13.30-14.30 น.

จุดประสงค์ :เพื่อให้ผู้เรียน

1.     ไดัรับความรู้ประวัติความเป็นมาของวิชากลศาสตร์ควอนตัม ทั้งสมมติฐานและการทดลองต่าง ๆ

2.     ได้รับความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีพื้นฐานทางด้านกลศาสตร์ควอนตัม  เพื่อสามารถอธิบายปรากฎการณ์

        ที่เกิดขึ้นในระดับอะตอมและนิวเคลียร์ได้

3.        เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจวิธีการแก้ปัญหาทางกลศาสตร์ควอนตัมโดยการใช้กลศาสตร์คลื่น และ

        นำไปแก้ปัญหาสำหรับการเคลื่อนที่ของอนุภาคในหนึ่ง และสามมิติได้

 

เอกสารประกอบการสอน

         เอกสารประกอบการสอนวิชา PY 371 จัดโดยอาจารย์ผู้สอน

 

การประเมินผลการเรียน                :                Test                  15%

Mid-term 40%

                                                Final                 25%

                                                Home work    20%

เกณฑ์การพิจารณาตัดเกรด                :                อิงเกณฑ์และอิงกลุ่ม

แผนการสอน

 

 

สัปดาห์ที่

หัวข้อเรื่อง

หมายเหตุ

1

ชี้แจงแผนการสอน การวัดผลและการประเมินผล

แนะนำหนังสืออ่านประกอบ

ผศ.ดร.เฟื่องลดา

2

ความล้มเหลวของกลศาสตร์คลาสสิก

และกำเนิดทฤษฎีควอนตัมแบบเก่า

การแผ่รังสีของวัตถุดำ

ทฤษฎีของเรย์ลี-จีน

ทฤษฎีควอนตัมของการแผ่รังสี (การบ้านครั้งที่ 1)

ผศ.ดร.เฟื่องลดา

 

3

ความร้อนจำเพาะของของแข็ง

ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก (การบ้านครั้งที่ 2)

ผศ.ดร.เฟื่องลดา

 

4

ปรากฏการณ์ควอนตัม (การบ้านครั้งที่ 3)

ผศ.ดร.เฟื่องลดา

5

สมมุติฐานของเดอบรอย

และการทดลองของเดวิสสันกับเจอเมอร์ (การบ้านครั้งที่ 4)

ผศ.ดร.เฟื่องลดา

 

6

กลุ่มคลื่นและหลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบอร์ก

(การบ้านครั้งที่ 5)

ผศ.ดร.เฟื่องลดา

 

7

ทบทวน

ผศ.ดร.เฟื่องลดา

8

สมการของชโรดิงเงอร์  (การบ้านครั้งที่ 6)

ดร. วิชุดา

9

สมการของชโรดิงเงอร์ใน 1 มิติ, ศักย์ 1 มิติ (การบ้านครั้งที่ 7)

ดร. วิชุดา

10-11

สอบกลางภาค

ผศ.ดร.เฟื่องลดา   ดร. วิชุดา

12

กีฬามหาวิทยาลัย

งดการเรียนการสอน

13

ศักย์ 1มิติ   (การบ้านครั้งที่ 7)

ดร. วิชุดา

14-15

สมการของชโรดิงเงอร์ใน 3 มิติ  (การบ้านครั้งที่ 8)

ดร. วิชุดา

16

ฮาเมอนิกออสซิลเลเตอร์  (การบ้านครั้งที่ 9)

ดร. วิชุดา

17

อะตอมไฮโดรเจน  (การบ้านครั้งที่ 10)

ดร. วิชุดา

18-19

สอบปลายภาค

ผศ.ดร.เฟื่องลดา   ดร. วิชุดา

หนังสืออ่านประกอบ

  1. เอกสารประกอบการสอน ฟิสิกส์ 371,   กลศาสตร์ควอนตัมเบื้องต้น ,  ปราโมทย์   ฉลูกัลป์    มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  2. กลศาสตร์ควอนตัม , สุปาณี  ลิ้มสุวรรณ,  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
  3. Clark,  H.,  A First course in Quantum Mechanics, revised edition,    Van

            Nostrand Reimhold (U.K.) co.Ltd., 1982.

4.      Beiser, A. Concepts of  Modern  Physics, fifth edition ., Mc Graw-Hill Inc 1995..

5.      Gasiorowicz, S. Quantum Physics,  2nd ed., John Wiley & Sons, Inc., 1996.

6.      Griffiths, D.J., Introduction to Quantum Mechanics,  Prentice-Hall, Inc. , 1994.