ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป
รหัสวิชา อป
418 ชื่อวิชา การชุบและเคลือบผิว 1 (PLATING 1)
หน่วยกิต 3 (2-2)
ภาคการศึกษาที่ 1/2548
ศึกษาหลักการเบื้องต้นของการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า
กระบวนการและขั้นตอนในการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการชุบโลหะ การเตรียมผิวชิ้นงานก่อนชุบ การชุบรองพื้น การชุบโลหะมีค่า การชุบเงิน การชุบทอง การวิเคราะห์น้ำยาชุบโลหะ การควบคุมคุณภาพน้ำยาชุบโลหะ ศึกษาการชุบเคลือบผิวแบบไอกายภาพ
และศึกษาการบำบัดน้ำทิ้งจากการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า
ห้องทำงาน :
ห้องพักอาจารย์ ชั้น 13
อาคาร 19 คณะวิทยาศาสตร์
1.
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับการชุบและเคลือบผิว
2.
เพื่อให้ผู้เรียนรู้หลักการเบื้องต้นของการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า กระบวนการและขั้นตอนในการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า
3.
เพื่อให้ผู้เรียนสามารถชุบโลหะมีค่าลงบนชิ้นงานโลหะที่เป็นเครื่องประดับได้
4.
เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงกระบวนการชุบโลหะมีค่า ที่ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องประดับเทียม
5.
เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจหลักการวิเคราะห์น้ำยาชุบ และสามารถวิเคราะห์น้ำยาชุบได้
6.
เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจถึงความสำคัญของการบำบัดน้ำทิ้งจากการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า
7.
เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงกระบวนการชุบเคลือบผิวแบบไอกายภาพ
8.
เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมทางด้านเครื่องประดับได้
1.
แผ่นใสที่ใช้ในการสอน
2.
วัชระ ขนิษฐบุตร, การชุบและเคลือบผิว, หนังสือประกอบการเรียน
วิชา อป 437 การชุบและเคลือบผิว สาขาวิชาวัสดุศาสตร์ (อัญมณีและเครื่องประดับ)
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, จัดพิมพ์โดย
สมาคมผู้ค้าอัญมณีและเครื่องประดับ, พิมพ์ครั้งที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2541
แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้
1. คะแนนภาคทฤษฎี 60
%
1.1 สอบกลางภาค 25
%
1.2 สอบปลายภาค 25
%
1.3 การบ้านและสอบย่อย 10%
2. คะแนนภาคปฏิบัติ 40
%
2.1 ชิ้นงานชุบเคลือบด้วยไฟฟ้า 2
ชิ้น
- เตรียมผิวชิ้นงาน 5%
- ขั้นตอนการชุบ 10%
- รายงานวิเคราะห์การชุบ
5%
2.2
วิเคราะห์น้ำยาชุบ 10%
2.3
เสนอผลงานเทคนิคการชุบเคลือบผิวแบบอื่นๆ 10%
รวม 100
%
วันและเวลาสอบ :
1. สอบกลางภาค : วันศุกร์ ที่ 5 สิงหาคม 2548 เวลา 10.00
12.00 น. ห้อง 15 622
2. สอบปลายภาค : วันศุกร์ ที่ 7 ตุลาคม 2548 เวลา 10.00 12.00 น. ห้อง
15 622
**นิสิตที่ไม่แต่งกายตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัย จะไม่อนุญาตให้เข้าห้องสอบโดยเด็ดขาด**
80
100 % ดีเยี่ยม (Excellent) A
75
79.9 % ดีมาก (Very Good) B+
70
74.9 % ดี (Good) B
65
69.9 % ดีพอใช้ (Fairly Good) C+
60
64.9 % พอใช้ (Fair) C
55
59.9 % อ่อน (Poor) D+
50
54.9 % อ่อนมาก (Very Poor) D
ต่ำกว่า 50 % ตก (Fail) E
หมายเหตุ : อาจมีการเปลี่ยนแปลง
โดยพิจารณาการตัดเกรดทั้งแบบอิงเกณฑ์ และอิงกลุ่ม
การแต่งกาย : แต่งกายด้วยชุดนิสิตตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
โดยอนุญาตให้สวมเสื้อ
ปฏิบัติการทับชุดนิสิตขณะปฏิบัติการได้
***นิสิตที่ไม่แต่งกายตามข้อบังคับ
จะไม่อนุญาตให้เข้าห้องเรียน และห้องปฏิบัติการ***
หนังสืออ่านประกอบ
:
1.
พิชิต เลี่ยมพิพัฒน์, ชุบทอง,
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สถาบันราชภัฏพระนคร กรุงเทพฯ,
พิมพ์ครั้งที่ 8, 2543, 196 หน้า
2.
อนันต์ ทองมอญ, ชุบโครเมียม-ชุบทอง, สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลและโลหะการ,
กรุงเทพฯ พ.ศ. 2542, 303 หน้า
3.
อนันต์ ทองมอญ, ชุบโลหะด้วยไฟฟ้า,
สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องจักรกล, กรุงเทพฯ, พ.ศ.
2542, 296 หน้า.
4.
วัชรา ขนิษฐบุตร, การวิเคราะห์น้ำยาชุบโลหะ,
สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลและโลหะการ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
5.
อมรรัตน์
พรหมบุญ, ชีวเคมีวิเคราะห์เชิงปริมาณ, ภาควิชาชีวเคมี
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, สิงหาคม 2546
6.
PLATING GUIDE ;
สัปดาห์ที่
|
วัน เดือน ปี
|
หัวข้อเรื่อง
|
ผู้สอน
|
1
|
10 มิ.ย.48
|
Introduction
: ชี้แจงรายละเอียดการเรียนการสอน เนื้อหาวิชา
การประเมินผลการเรียน ความสำคัญและประโยชน์ของการเรียนวิชานี้ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า |
อ.
สุภิญญา |
2
|
17
มิ.ย.48
|
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า(ต่อ) |
อ.
สุภิญญา |
3
|
24
มิ.ย.47
|
อุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ในการชุบโลหะ
และการเตรียมผิวชิ้นงานก่อนชุบ |
อ.
สุพิชฌา |
4
|
1
ก.ค.48
|
กระบวนการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า - การชุบรองพื้น |
อ.
สุภิญญา |
5
|
8 ก.ค.48
|
-
การชุบขั้นสุดท้ายด้วยโลหะมีค่า -
การกระทำหลังการชุบ |
อ.
สุภิญญา |
6
|
15 ก.ค. 48
|
-
ปัญหาที่เกิดจากการชุบและเคลือบผิว -
การแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการชุบและเคลือบผิว |
อ.
สุภิญญา |
7
|
22
ก.ค. 48
|
หยุดวันเข้าพรรษา |
|
8
|
29
ก.ค.48
|
เยี่ยมชมโรงงานชุบเครื่องประดับ |
อ.สุภิญญา,อ.สุพิชฌา |
9
|
5 ส.ค.48
|
สอบกลางภาค เวลา 10.00 12.00 น.
(25%) |
15 - 622 |
10
|
12
ส.ค. 48
|
หยุดวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระราชินีฯ |
|
11
|
19
ส.ค. 48
|
ความรู้พื้นฐานด้านวิเคราะห์น้ำยาชุบ |
อ.สุพิชฌา |
12
|
26
ส.ค. 48
|
วิเคราะห์น้ำยาชุบ |
อ.สุพิชฌา |
13
|
2
ก.ย. 48
|
วิเคราะห์น้ำยาชุบ
(ต่อ) |
อ.สุพิชฌา |
14
|
9
ก.ย. 48
|
การชุบเคลือบผิวแบบไอกายภาพ
(PVD) และ Electroforming |
อ.
สุพิชฌา |
15
|
16
ก.ย. 48
|
การบำบัดน้ำทิ้งจากโรงงานชุบโลหะด้วยไฟฟ้า |
อ.
สุภิญญา |
16
|
23
ก.ย. 48
|
เสนอผลงานเทคนิคการชุบเคลือบผิวแบบอื่นๆ
|
อ.สุภิญญา,อ.สุพิชฌา
|
17
|
30
ก.ย.48
|
เสนอผลงานเทคนิคการชุบเคลือบผิวแบบอื่นๆ(ต่อ)
|
อ.สุภิญญา,อ.สุพิชฌา
|
18
|
7 ต.ค. 48
|
สอบปลายภาค เวลา
10.00 12.00 น. (25%)
|
15 - 622
|
สัปดาห์ที่
|
วัน เดือน ปี
|
หัวข้อเรื่อง
|
1
|
10 มิ.ย.48
|
Introduction
: ชี้แจงรายละเอียดการเรียนการสอน เนื้อหาวิชา
การประเมินผลการเรียน ความสำคัญและประโยชน์ของการเรียนวิชานี้ |
2
|
17
มิ.ย.48
|
เตรียมผิวชิ้นงาน |
3
|
24
มิ.ย.47
|
เตรียมผิวชิ้นงาน
(ต่อ) |
4
|
1
ก.ค.48
|
เตรียมผิวชิ้นงาน
(ต่อ) |
5
|
8 ก.ค.48
|
ชุบโลหะด้วยไฟฟ้า
(ชุบเงิน) |
6
|
15 ก.ค. 48
|
ชุบโลหะด้วยไฟฟ้า
(ชุบทอง) |
7
|
22
ก.ค. 48
|
หยุดวันเข้าพรรษา |
8
|
29
ก.ค.48
|
เยี่ยมชมโรงงานชุบเครื่องประดับ |
9
|
5 ส.ค.48
|
สอบกลางภาค เวลา 10.00 12.00
น. (25%) |
10
|
12
ส.ค. 48
|
หยุดวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระราชินีฯ |
11
|
19
ส.ค. 48
|
เทคนิคการชุบเคลือบผิวแบบอื่นๆ |
12
|
26
ส.ค. 48
|
วิเคราะห์น้ำยาชุบ
|
13
|
2
ก.ย. 48
|
วิเคราะห์น้ำยาชุบ (ต่อ)
|
14
|
9
ก.ย. 48
|
วิเคราะห์น้ำยาชุบ (ต่อ)
|
15
|
16
ก.ย. 48
|
วิเคราะห์น้ำยาชุบ (ต่อ)
|
16
|
23
ก.ย. 48
|
เสนอผลงานเทคนิคการชุบเคลือบผิวแบบอื่นๆ |
17
|
30
ก.ย.48
|
เสนอผลงานเทคนิคการชุบเคลือบผิวแบบอื่นๆ
(ต่อ)
|
18
|
7 ต.ค. 48
|
สอบปลายภาค เวลา
10.00 12.00 น. (25%) ห้อง 15 - 622
|
หมายเหตุ : ปฏิบัติการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า ห้อง 19 1314
ปฏิบัติการเตรียมผิวชิ้นงาน ห้อง
19 - 1315
ปฏิบัติการวิเคราะห์น้ำยาชุบ ห้องปฏิบัติการเคมี
15 623
การแต่งกาย : แต่งกายด้วยชุดนิสิตตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
อนุญาตให้สวมเสื้อปฏิบัติการทับชุดนิสิตได้
***นิสิตที่ไม่แต่งกายตามข้อบังคับ
จะไม่อนุญาตให้เข้าห้องเรียนและห้องปฏิบัติการ***
ความสามารถในการสื่อสารข้อมูลที่ชัดเจน
ทั้งด้านการพูดและการเขียน เป็นสิ่งสำคัญสำหรับนักวิทยาศาสตร์ และนักอัญมณีศาสตร์ในอนาคต
เมื่อนิสิตจบการศึกษาและเข้าสู่การทำงาน นิสิตจะต้องใช้เวลาส่วนหนึ่งในการอธิบายความคิดมุมมอง
ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะให้กับผู้บังคับบัญชาหรือผู้ใต้บังคับบัญชา
ดังนั้นในการฝึกเขียนรายงานผลการทดลองจะเป็นส่วนหนึ่งที่มีประโยชน์ต่อการนำเสนอข้อมูล
และสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจความคิดเห็นในด้านเทคนิควิชาการได้ การเขียนรายงานผลการทดลองที่ได้มาตรฐาน
รวมถึงภาษาเขียนที่มุ่งเน้นเป้าหมายให้ตรงจุด การใช้ภาษาที่ชัดเจน
และสั้นได้ใจความ
รายงานผลการทดลองประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้
1.
หน้าปก
ประกอบด้วยชื่อมหาวิทยาลัย ชื่อคณะ ชื่อภาควิชาฯ สาขาวิชา ชื่อรายวิชา ชื่อเรื่องที่ทดลอง ผู้ทดลอง ผู้ร่วมทดลอง หรือคณะที่ทำการทดลอง รหัสประจำตัว ชื่อผู้สอนและวันที่ส่งรายงาน
2.
เนื้อหาภายใน ประกอบด้วย
2.1
คำนำ
2.2
สารบัญ
2.3
วัตถุประสงค์
และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการทดลอง
2.4
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง โดยกล่าวอ้างถึงเพื่อเป็นแนวทางและให้รู้ว่ามีหลักการอ้างอิงได้
2.5
อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง
2.6
ขั้นตอนและวิธีทดลอง โดยเขียนด้วยคำพูดของตนเอง
ตามขั้นตอนที่ทดลองจริง
2.7
ผลการทดลอง โดยแสดงผลข้อมูลที่ได้ในรูปแบบตาราง
กราฟ หรือรูปภาพ
2.8
ปัญหาและวิเคราะห์ผลการทดลองวิเคราะห์โดยใช้ความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีและอธิบายสิ่งที่ไม่ได้ผลตามทฤษฎี
ว่ามีข้อผิดพลาดจากสาเหตุใด
2.9
สรุปผลการทดลอง โดยสามารถแทรกความคิดเห็นส่วนตัวลงไปได้
2.10 สาระอื่นๆ
ที่เห็นว่าน่าสนใจและเป็นประโยชน์
2.11 เอกสารอ้างอิง
แสดงรายชื่อเอกสารที่ผู้ทดลองใช้อ้างอิงประกอบทุกเล่ม
หมายเหตุ -
จำนวนหน้าของรายงานแต่ละฉบับ ไม่เกิน 30 หน้า
-
รายงานการทดลอง ต้องเขียนด้วยลายมือเท่านั้น
***รายงานการชุบโลหะด้วยไฟฟ้าส่งพร้อมชิ้นงาน ภายในวันศุกร์ที่ 5 สิงหาคม 2548 ภายใน 16.00 น.
***รายงานการวิเคราะห์น้ำยาชุบ ส่งหลังจากทำการทดลอง 1 สัปดาห์
***
การเสนอผลงาน (Presentation)
เทคนิคการชุบเคลือบผิวแบบอื่นๆ
ใช้เวลากลุ่มละ 20 นาที ตอบคำถาม 10 นาที โดยนิสิตทุกคนต้องเข้าฟังการเสนอผลงาน