ตารางเรียน วิชาเคมีของยา 2 (ภภค 302)
ภาคเรียนที่
2 ปีการศึกษา 2549
3 หน่วยกิต (3-0)
ห้องบรรยาย
304
คณะเภสัชศาสตร์
วันพฤหัสบดี
เวลา 13.30-16.20
น.
ผู้ประสานงานรายวิชา ผศ.ดร.วีระศักดิ์ สามี
วันที่บรรยาย |
หัวข้อบรรยาย |
จำนวนชั่วโมง |
อาจารย์ผู้สอน |
2 พ.ย 49 |
1.
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์พื้นฐานสำหรับการศึกษาเคมีของยา |
3 |
ผศ.ดร.วีระศักดิ์ |
9 พ.ย 49 |
2.
Histamine and antihistamine |
3 (6%) |
ผศ.ดร.วีระศักดิ์ |
14, 21 พ.ย 49 9.00 12.00 |
3.
Cardiovascular drugs 3.1
Antianginal drugs 3.2
Antiarrhythmic drugs 3.3
Drugs use for the treatment of congestive heart failure 3.4
Antihypertensive drugs |
6 (12%) |
รศ.ดร.จิรภรณ์ |
16 พ.ย. 49 |
4.
Diuretic drugs 5.
Coagulants and anticoagulants |
3 (6%) |
อ.ชญานิศ |
23 พ.ย. 49 |
6.
Antiseptics and
Disinfectants 7.
Anti-malarial agents 8.
Antituberculosis |
3 (6%) |
อ.ชญานิศ |
30 พ.ย. 49 |
9.
Hypoglycemic drugs 10.
Antihyperlipidimic agents |
3 (6%) |
ผศ.ดร.สุวรรณา |
7 ธ.ค. 49 |
11.
Antifungals 12.
Anthelmintic agents 13.
Antiamoebics |
3 (6%) |
ผศ.ดร.สุวรรณา |
21 ธ.ค.
49 |
อภิปรายกรณีศึกษา (case study) ครั้งที่ 1 |
4% |
คณาจารย์ |
25 - 29 ธ.ค.49 |
สอบกลางภาค หัวข้อที่ 2-13 (42%) |
|
|
14 ธ.ค.
49 4, 11 ม.ค. 50 |
14.
Antibacterial agents 14.1
Sulfonamides and arylpyrimidine antifolates 14.2
Betalactam antibacterials 14.3
Quinolones 14.4
Aminoglycosides 14.5
Tetracyclines 14.6
Non-peptide macrocyclic antibacterials 14.7
Peptide antibacterials |
9 (15%) |
ผศ.ดร.วีระศักดิ์ |
1 ก.พ. 50 |
15.
Antivirals and anti-AIDS s 16.
Anticancers |
3 (5%) |
ผศ.ดร.วีระศักดิ์ |
8, 15 ก.พ.
50 |
17.
Gastro-intestinal drugs (including inorganic GI & inorganic
pharmaceutical agents) and Respiratory agents 18.
Vitamins, mineral and related compounds 18. Miscellaneous (anti-aging) |
6 (12%) |
อ.ชญานิศ |
22 ก.พ. 50 |
อภิปรายกรณีศึกษา (case study) ครั้งที่ 2 |
4% |
คณาจารย์ |
26 ก.พ.- 9 มี.ค. 50 |
สอบปลายภาคหัวข้อที่ 13-18 (32%) |
|
|
คณะ เภสัชศาสตร์
กลุ่มวิชา เภสัชเคมี
รหัสวิชา ภภค 302
ชื่อรายวิชา เคมีของยา 2
จำนวน 3 หน่วยกิต
เงื่อนไขรายวิชา ต้องสอบผ่านวิชาเคมีของยา
1 (ภภค 301)
1.
รศ.ดร.จิรภรณ์ อังวิทยาธร
คณะเภสัชศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
2.
ผศ.ดร.สุวรรณา
วรรัตน์
3. อ.ชญานิศ ศรชัยธวัชวงศ์
4.
ผศ.ดร.วีระศักดิ์ สามี
คำอธิบายรายวิชา (Course Description)
เป็นกระบวนวิชาที่ต่อเนื่องมาจากวิชาเคมีของยา 1 โดยเน้นยากลุ่มยาต้านจุลชีพ
ยาปฏิชีวนะ ยาต้านมาเลเรีย ยาถ่ายพยาธิ ยาต้านโปรโตซัว ยาต้านไวรัส
ยาต้านเชื้อรา
ยาต้านมะเร็ง
ยาที่มีผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด ยาลดน้ำตาลในเลือด ยาลดไขมันในเลือด วิตามิน เกลือแร่ และยาในกลุ่มอื่นๆ
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม: นิสิตสามารถอธิบาย
เกี่ยวกับยาต้านจุลชีพ
ยาปฏิชีวนะ ยาต้านมาเลเรีย ยาถ่ายพยาธิ ยาต้านโปรโตซัว ยาต้านไวรัส
ยาต้านเชื้อรา
ยาต้านมะเร็ง
ยาที่มีผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด ยาลดน้ำตาลในเลือด ยาลดไขมันในเลือด วิตามิน เกลือแร่ และยาในกลุ่มอื่นๆ ในด้าน
1.
ความสัมพันธ์เชิงปริมาณระหว่างโครงสร้างของยาและการออกฤทธิ์
2.
หลักการทางเมแทบอลิซึมที่เกี่ยวข้องกับสูตรโครงสร้างของยา
3.
คุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของยา
4.
วิธีการสังเคราะห์ยา
5.
หลักการดัดแปลงสูตรโครงสร้างให้สัมพันธ์กับการออกฤทธิ์ของยา
6.
การนำความรู้เกี่ยวกับเคมีของยาไปประยุกต์ใช้ทางคลินิกและทางเภสัชกรรม
การวัดผลและประเมินผล
-
สอบกลางภาค
42 %
- สอบปลายภาค 32 %
- สอบย่อย (quiz)
10 %
- Assignment case
study 8% และ รายงานการศึกษาด้วยตนเอง
8%
นิสิตที่มีคะแนนไม่ถึง 50% ถือว่าสอบไม่ผ่านและจะได้เกรดระดับขั้น
E สำหรับระดับขั้น A นิสิตจะต้องได้คะแนน 80% ขึ้นไป
ส่วนระดับขั้น B+, B, C+, C, D+, และ D จะพิจารณาแบบอิงกลุ่ม
เอกสารอ้างอิง
1.
Foye,
W.O. (2002) Principles of Medicinal Chemistry, 5th edn. Lea & Febiger,
2.
Lawrence,
K. Low and Neal Castagnoli, Jr. (2004) Wilson and Gisvolds Textbook of Organic Medicinal and Pharmaceutical
Chemistry, 11th edn. J.B. Lippincott
Company,
3.
Mathison,
I.W., Solomons, W.E. and Tidwell, R. R. (1995) Principles
of Medicinal Chemistry, 4th edn. Lea
& Febiger,
4.
Patrick,
G.L. (2005) An Introduction to Medicinal Chemistry, 3rd edn.
5.
6.
Krogsgaard-Larsen,
P. (2002) Textbook of Drug Design and Discovery, 3rd edn. Taylor & Francis, Inc.
7.
Silverman,
R.B. (1992) The Organic Chemistry of Drug
Design and Drug Action. Academic
Press,
8.
Thomas,
G. (2002) Medicinal Chemistry: An Introduction. John Wiley & Sons, Inc.
9.